กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางภัทรพร รัตนซ้อน




ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-2986-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านการจัดการขยะเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยในปัจจุบันการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและรูปแบบพฤติกรรมการบริโภคส่งผลให้ปัญหาขยะแนวโน้มทวีความรุนแรงและก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ขยะมูลฝอย เป็นปัญหาที่กำลังทวีความรุนแรง เพราะนับวันจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และเป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนเกินกว่าจะคาดหวังว่าหน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรท้องถิ่นจะสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ จึงจำเป็นจะต้องอาศัยประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการกับปัญหา เพราะประชาชนทุกคนอยู่ในฐานะของผู้มีส่วนร่วมในการสร้างปัญหา และในฐานะของผู้ที่ต้องเข้าร่วมในการจัดการปัญหา สิ่งที่ตามมาและหลีกเลี่ยงไม่ได้จากขยายตัวของชุมชน คือ ปัญหาขยะซึ่งทวีความรุนแรงขึ้นเป็นลำดับ ปัจจุบันรูปแบบการจัดเก็บและการกำจัดของชุมชนในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนายังอยู่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบล ยังขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการร่วมกันจัดการขยะแบบบูรณาการ และยังมีประชาชนบางส่วน มีการกำจัดขยะมูลฝอยแบบไม่ถูกวิธี เช่น ยังใช้วิธีเทกองและเผาทิ้งแบบไม่ถูกสุขลักษณะ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและก่อให้เกิดปัญหาสุขอนามัยกับผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง เช่น ปัญหาของกลิ่น ปัญหาแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงต่างๆ ที่เป็นพาหะนำเชื้อโรค นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน
ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา ในฐานะหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ ที่มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพและต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและสังคม เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในชุมชนโดยใช้ผลงานด้านวิชาการ นวัตกรรม องค์ความรู้ของทางสาธารณสุขเข้าไปแก้ปัญหาในชุมชน ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนาต้องเข้าไปช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยใช้หลักการสำคัญของรูปแบบการจัดการขยะในชุมชนเพื่อให้เกิดการจัดการที่ยั่งยืนอาศัยหลักการ 3 ข้อคือ 1.การคัดแยกและการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย (3Rs-Reduce/Reuse/Recycle) 2.การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการจัดการแบบ ผสมผสานเพื่อลดการสิ้นเปลืองพื้นที่ฝังกลบ 3.การกำจัดขยะมูลฝอยแบบรวมกลุ่ม (Cluster) ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการเกิดขยะจนถึงการกำจัดครั้งสุดท้ายซึ่งต้องเริ่มต้นจากครัวเรือน จนถึงปลายทางจัดการขยะที่ได้มาตรฐาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. นำเสนอและแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดการขยะในชุมชน 2. ให้ความรู้เรื่่องการแยกประเภทขยะ 3. ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่เป็นพลาสติกและขยะอันตรายออกจากขยะทั่วไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการแยกประเภทของขยะได้ถูกต้อง
  2. ผู้เข้าร่วมอบรมเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่างๆว่าวัสดุบางประเภทสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้งหรือสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในการจัดอบรมมีผู้ร่วมรับการอบรมจำนวน 64 คน ประกอบด้วยกลุ่มเป้าหมาย คือ อสม. พนักงานเก็บขยะ อบต. และ ประชาชนทั่วไป ในการนี้ได้ให้ความรู้พร้อมทั้งสาธิตวิธีการป้องกันตัวเองไม่ให้สัมผัสสิ่งสกปรก โดยการใส่อุปกรณ์ป้องกันและวิธีการจัดเก็บที่ถูกต้อง ได้รับความสนใจและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีิื
ผู้เข้าร่วมโครงการประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ อบต. เจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา ผู้นำชุมชน ผู้นำสาศนา ผู้ประกอบการร้านค้า กลุ่มเด็กนักเรียน ชาวบ้านตำบลตะโละแมะนา และ อสม.ตำบลตะดละแมะนา ได้รู้ได้มองเห็นปัยหาร่วมกันว่า ปัญหากลิ่นเหม็นจากขยะมูลฝอยสร้างความรำคาญให้แก่ชุมชนพักอาศัย แหล่งน้ำเน่าเสียจากการที่ขยะมูลฝอยมีอินทรีย์สารเน่าเปื่อยปะปนอยู่ เป้นอันตรายต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์น้ำ รวมทั้งผลเสียในด้านการใช้แหล่งน้ำเพื่อการนันทนาการ เป็นแหล่ีงเพาะพันเชื้อโรคและสัตว์นำโรคต่งๆ เช่น หนู แมลงวัน เป็นต้น การกำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชาการจะสร้างความเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้ที่อาศัยข้างเคียง รวมทั้งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ทำให้ชุมชนขาดความสะอาด สวยงามและเป็นระเบียบ และไม่เน่าอยู่ การสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น ชุมชนจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บขนและกำจัดขยะมูลฝอย ค่าชดเชยความเสียหายในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ และค่ารักษาพยาบาลหากประชาชนได้รับโรคภัยไข้เจ็บจากพิษของขยะมุลฝอย ทำให้ทุกคนมองเห้นแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน 1. กำจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การเผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบอย่างถูกสุขลักาณะ และการหมักทำปุ๋ย เป้นต้น ซึ่งแต่ละวิธีมีความแตกต่างกันในด้านต้นทุนการดำเนินงาน ความพร้อมขององค์กรปริมาณและประเภทของขยะ เป็นต้น การจัดการขยะ โยอาศัยหลัก 5 R คือ - Reduce การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ทีมีบรรจุภัณฑ์สิ้นเปลือง - Reuse การนำมาใช้ซ้ำ เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป้นต้น  - Repair การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆให้สามารถใช้งานต่อได้ - Reject การหลีกเลี่ยงสิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ - Recycle การแปรสภาพและหมุนเวียนนำกลับมาใช้ได้ใหม่ โดยนำไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่ใหม่อีกครั้ง การแยกขยะ เพื่อลดขยะที่ต้องนำมาไปกำจัดจริงๆให้เหลือน้อที่สุด เช่น - ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนำมากลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก  - ขยะเปียกสามารถนำมาหมักทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ  - ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกำจัดที่ปลอดภัย ส่งเสริมการผลิตที่สะอาดในภาคการผลิต โดยลดการใช้วัสดุ ลดพลังงาน และลดมลพิษ เพิ่มศักยภาพการใช้ทรัพยากรหมุนเวียน การนำของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุการใช้งานได้นานขึ้น ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนรวมลงทุนและการจัดการขยะ ให้คความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการจัดการขยะอย่างถูกหลักวิชาการ รณรงค์และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนเข้าใจและยอมรับว่าเป้นภาระหน้าที่ของตนเอง ในการร่วมมือกันจัดการขยะมูลฝอย ที่เกิดขึ้นในชุมชน 2. การนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ การนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประดยชน์ใหม่มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่กับสภาพและลักษณะสมบัติของขยะมูลฝอยซึ่งสามารถสรุปได้เป็น 5 แนวทางหลักๆ คือ
2.1 การนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ให้ (Material Recovery) เป้นการนำมูลฝอยที่สามารถคัดแยกได้กลับมาใช้ใหม่ โดยจำเป้นต้องผ่านกระบวนการแปรรูปใหม่ (Recycle) หรือแปรรูป (Reuse) ก็ได้ 2.2 การแปรรูปเพื่อเปลี่ยนพลังงาน (Energy Recovery) เป้การนำขยะมูลฝอยที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนหรือเปลี่ยนเป็นรูปก๊าซชีวภาพมาเพื่อใช้ประโยชน์ 2.3 การนำขยะมูลฝอยจำพวกเศษอาหารที่เหลือจากการรับประทานหรือการประกอบอาหารไปเลี้ยงสัตว์ 2.4 การนำขยะมูลฝอยไปปรับสภาพให้มีประโยชน์ต่อการบำรุงรักษาดิน เช่น การนำขยะมูลฝอยสดหรือเศษอาหารมาหมักทำปุ๋ย 2.5 การนำขยะมูลฝอยปรับปรุงพื้นที่โดยนำขยะมูลฝอยมากำจัดโดยวิธีการฝังกลบอย่างถูกหลักวิชาการ (Sanitary landfill) จะได้พื้นที่สำหรับใช้ปลูกพืช สร้างสวนสาธารณะ สนามกีฬา เป็นต้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
80.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-2986-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภัทรพร รัตนซ้อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด