โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน ”
อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนิคมพัฒนา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา
มีนาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน
ที่อยู่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5296-2-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5296-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโรคเข้าไปเพิ่มในร่างกาย อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเป็นจากตัวเชื้อโรคเองหรือพิษที่เชื้อโรคนั้นปล่อยออกมา เชื้อโรคจะติดต่อถ่ายทอดจากผู้ป่วยโดยตรงหรือโดยอ้อมไปสู่คนปกติ บางครั้งเรียกว่า โรคติดเชื้อ แทนคำว่า โรคติดต่อ สำหรับในเขตร้อน อากาศอบอุ่นจนถึงร้อนจัดตลอดปีและมีฝนตกชุก มีความชื้นสูง เป็นผลให้เชื้อโรคต่างๆ ชุกชุม เมื่อมีการติดต่อถ่ายทอดไปยังผู้อื่น ก็ทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคมากขึ้น จึงจะต้องมีการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน และมีมาตราฐาน ในแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาเกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย ไข้หวัดนก โรคซาร์ส โรคไข้หวัดใหญ่ โรคเล็ปโตสไปรโรซิส และโรคอื่นที่อุบัติใหม่ ฯลฯ ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์เป็นจำนวนมาก
สำหรับสถานการณ์โรคติดต่อ ๕ อันดับแรกในพื้นที่อำเภอมะนัง ปี ๒๕๖๐ คือ โรคอุจจาระร่วง อัตราป่วย ๖๙๓.๕๘ ต่อแสนประชากร,ปอดบวม มีอัตรา ๑๒๔.๐๖ ต่อแสนประชากร,สุกใส อัตรา ๘๔.๕๘ ต่อแสนประชากร,งูสวัด อัตรา ๔๕.๑๑ ต่อแสนประชากร ส่วนตำบลนิคมพัฒนา ยังพบผู้ป่วยโรคติดต่อในชุมชน ได้แก่ โรคไข้เลือดออก อุจจาระร่วง และโรคฉี่หนู เป็นต้น ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากสภาพแวดล้อมในบ้านและบริเวณบ้านไม่สะอาด การไม่ปฏิบัติตามหลักสุขบัญญัติ เช่น การกินของร้อน ใช้ช้อนกลางและล้างมือ เป็นต้น จึงทำให้โรคเหล่านี้เกิดขึ้นบ่อยครั้งและเป็นโรคที่เกิดทุกๆปี ส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดความรู้และความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนิคมพัฒนา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน และลดการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน รวมทั้งเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนให้ประชาชนได้รับทราบและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและเฝ้าระวังให้แก่ประชาชนในชุมชน เพื่อลดการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน และเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนได้รับทราบและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง โรคติดต่อที่เฝ้าระวังในชุมชน และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคที่เกิดขึ้นในชุมชน
๒.ประชาชนสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในชุมชนและเป็นส่วนหนึ่งของการเฝ้าระวังและป้องกันโรค
๓.สามารถลดการเกิดแหล่งพาหะนำโรคในชุมชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน
วันที่ 23 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคที่เกิดขึ้นในชุมชน
- ประชาชนสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในชุมชนและเป็นส่วนหนึ่งของการเฝ้าระวังและป้องกันโรค
- สามารถลดการเกิดแหล่งพาหะนำโรคในชุมชนได้
120
0
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง โรคติดต่อที่เฝ้าระวังในชุมชน และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน
วันที่ 26 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง โรคติดต่อที่เฝ้าระวังในชุมชน และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคที่เกิดขึ้นในชุมชน
- ประชาชนสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในชุมชนและเป็นส่วนหนึ่งของการเฝ้าระวังและป้องกันโรค
- สามารถลดการเกิดแหล่งพาหะนำโรคในชุมชนได้
80
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและเฝ้าระวังให้แก่ประชาชนในชุมชน เพื่อลดการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน และเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนได้รับทราบและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและเฝ้าระวังให้แก่ประชาชนในชุมชน เพื่อลดการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน และเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนได้รับทราบและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง โรคติดต่อที่เฝ้าระวังในชุมชน และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5296-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนิคมพัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน ”
อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนิคมพัฒนา
มีนาคม 2561
ที่อยู่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5296-2-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5296-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโรคเข้าไปเพิ่มในร่างกาย อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเป็นจากตัวเชื้อโรคเองหรือพิษที่เชื้อโรคนั้นปล่อยออกมา เชื้อโรคจะติดต่อถ่ายทอดจากผู้ป่วยโดยตรงหรือโดยอ้อมไปสู่คนปกติ บางครั้งเรียกว่า โรคติดเชื้อ แทนคำว่า โรคติดต่อ สำหรับในเขตร้อน อากาศอบอุ่นจนถึงร้อนจัดตลอดปีและมีฝนตกชุก มีความชื้นสูง เป็นผลให้เชื้อโรคต่างๆ ชุกชุม เมื่อมีการติดต่อถ่ายทอดไปยังผู้อื่น ก็ทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคมากขึ้น จึงจะต้องมีการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน และมีมาตราฐาน ในแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาเกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย ไข้หวัดนก โรคซาร์ส โรคไข้หวัดใหญ่ โรคเล็ปโตสไปรโรซิส และโรคอื่นที่อุบัติใหม่ ฯลฯ ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์เป็นจำนวนมาก
สำหรับสถานการณ์โรคติดต่อ ๕ อันดับแรกในพื้นที่อำเภอมะนัง ปี ๒๕๖๐ คือ โรคอุจจาระร่วง อัตราป่วย ๖๙๓.๕๘ ต่อแสนประชากร,ปอดบวม มีอัตรา ๑๒๔.๐๖ ต่อแสนประชากร,สุกใส อัตรา ๘๔.๕๘ ต่อแสนประชากร,งูสวัด อัตรา ๔๕.๑๑ ต่อแสนประชากร ส่วนตำบลนิคมพัฒนา ยังพบผู้ป่วยโรคติดต่อในชุมชน ได้แก่ โรคไข้เลือดออก อุจจาระร่วง และโรคฉี่หนู เป็นต้น ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากสภาพแวดล้อมในบ้านและบริเวณบ้านไม่สะอาด การไม่ปฏิบัติตามหลักสุขบัญญัติ เช่น การกินของร้อน ใช้ช้อนกลางและล้างมือ เป็นต้น จึงทำให้โรคเหล่านี้เกิดขึ้นบ่อยครั้งและเป็นโรคที่เกิดทุกๆปี ส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดความรู้และความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนิคมพัฒนา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน และลดการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน รวมทั้งเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนให้ประชาชนได้รับทราบและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและเฝ้าระวังให้แก่ประชาชนในชุมชน เพื่อลดการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน และเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนได้รับทราบและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง โรคติดต่อที่เฝ้าระวังในชุมชน และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคที่เกิดขึ้นในชุมชน ๒.ประชาชนสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในชุมชนและเป็นส่วนหนึ่งของการเฝ้าระวังและป้องกันโรค ๓.สามารถลดการเกิดแหล่งพาหะนำโรคในชุมชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน |
||
วันที่ 23 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
120 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง โรคติดต่อที่เฝ้าระวังในชุมชน และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน |
||
วันที่ 26 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง โรคติดต่อที่เฝ้าระวังในชุมชน และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
80 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและเฝ้าระวังให้แก่ประชาชนในชุมชน เพื่อลดการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน และเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนได้รับทราบและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและเฝ้าระวังให้แก่ประชาชนในชุมชน เพื่อลดการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน และเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนได้รับทราบและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง โรคติดต่อที่เฝ้าระวังในชุมชน และกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคในชุมชน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5296-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนิคมพัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......