กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ ยับยั้งการแพร่โรคไข้เลือดออก ปี 2561 ”
ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายอาลาวี สนิ




ชื่อโครงการ โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ ยับยั้งการแพร่โรคไข้เลือดออก ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8423-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ ยับยั้งการแพร่โรคไข้เลือดออก ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ ยับยั้งการแพร่โรคไข้เลือดออก ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ ยับยั้งการแพร่โรคไข้เลือดออก ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8423-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,204.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยมีรายงานการระบาดของโรคไข้เลือดออกมานานกว่า ๕๐ ปี และเริ่มมีการรายงานการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างชัดเจน ในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ตรวจพบในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่นั้นมาก็มีรายงานการระบาดกระจายออกไปทุกภูมิภาคของประเทศ โดยเฉพาะในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ มีรายงานผู้ป่วยสูงสุดในประเทศไทยเท่าที่เคยมีรายงาน พบผู้ป่วยมีจำนวน ๑๗๔,๒๘๕ ราย เสียชีวิต ๑,๐๐๗ ราย ปัจจุบันโรคไข้เลือดออก มีการระบาดกระจายไปทั่วประเทศ ทุกจังหวัด และอำเภอ การกระจายของโรคมีการเปลี่ยนแปลงตามพื้นที่อยู่ตลอดเวลา
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคระบาดที่เป็นปัญหาเกือบทุกปี จะเห็นได้ว่าทุกวันนี้โรคไข้เลือดออกเริ่มระบาดหนักในทุกพื้นที่อันเนื่องด้วยปัจจัยต่างๆที่เอื้อผลต่อการเพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคสภาพอากาศฝนตกตลอดทั้งปีเอื้อหนุนต่อการเกิดน้ำขังตามภาชนะต่างๆเป็นแหล่งวางไข่ของยุงลายตามปริมาณของยุงลายที่เพิ่มประชากรในทุกขณะซึ่งหมายถึง Agentที่เพิ่มมากขึ้นบวกกับ Environment ที่เอื้อต่อการเกิดโรค ประจวบเหมาะกับHost ที่ร่างกายอ่อนแอไปทุกวันขาดการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคการขาดความตระหนักในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเหมือนกับเป็นวงจรที่ทำให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้นและยากต่อการควบคุมและป้องกันโรคทั้งนี้ความสูญเสียจากโรคไข้เลือกออกมีความรุนแรงตามพยาธิสภาพของโรคที่อาจเกิดภาวะช็อกและถึงแก่ชีวิตได้หากยิ่งขาดความตระหนักขาดการควบคุมดูแลหรือการเร่งรัดมาตรการป้องกันอาจจะเกิดการสูญเสียมากขึ้นอัตราป่วยและอัตราตายก็จะเพิ่มมากขึ้นตามกัน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต ประสบปัญหาโรคไข้เลือดออกทุกปีโดยพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกตามรายงานโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ๕ ปีย้อนหลัง ดังนี้พบว่าปี ๒๕๕๖ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๓๗๔.๗๑ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๕๗อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๓๗๔.๗๑ ต่อแสนประชากร ในปี ๒๕๕๘ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๕๒๐.๗๑ ต่อแสนประชากร ในปี ๒๕๕๙ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๑๔๒.๔๘ ต่อแสนประชากร และในปี ๒๕๖๐ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๒๙๒.๓ ต่อแสนประชากร ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ซึ่งการระบาดของโรคไข้เลือดออกย้อนหลัง ๕ ปีถ้าวัดตามแนวโน้มและลักษณะการระบาดของโรคทุกปี และอัตราการเกิดโรคในแต่ละปี เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากรซึ่งไม่ผ่านตัวชี้วัดที่กระทรวงกำหนด ด้วยสภาพปัญหาดังกล่าวนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต จึงได้จัดทำ โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ ยับยั้งการแพร่โรคไข้เลือดออก เพื่อแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย สามารถควบคุมดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ค่า BI < ๕๐,HI < ๑๐,CI = ๐) โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ
  3. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ที่เป็นแกนนำด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการทีม SRRT ในการเฝ้าระวังสถานการณ์ ตลอดจนมีการซ้อมแผนการดำเนินงานควบคุมโรคตามแนวทางระบาดวิทยา
  3. ประชุมรายงานและประเมินผลการดำเนินการควบคุมป้องกันโรคของทีม SRRT ๓ เดือน/ครั้ง
  4. กิจกรรมพ่นหมอกควัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 979
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ๒. อสม.มีความรู้ความเข้าใจและสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ชุมชนได้ ๓. ประชาชนมีการพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ดีได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย สามารถควบคุมดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ค่า BI < ๕๐,HI < ๑๐,CI = ๐) โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 979
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 979
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก  (2) เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย  สามารถควบคุมดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ค่า BI < ๕๐,HI < ๑๐,CI = ๐) โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ  (3) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ที่เป็นแกนนำด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (2) อบรมเชิงปฏิบัติการทีม SRRT ในการเฝ้าระวังสถานการณ์ ตลอดจนมีการซ้อมแผนการดำเนินงานควบคุมโรคตามแนวทางระบาดวิทยา (3) ประชุมรายงานและประเมินผลการดำเนินการควบคุมป้องกันโรคของทีม SRRT ๓ เดือน/ครั้ง (4) กิจกรรมพ่นหมอกควัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ ยับยั้งการแพร่โรคไข้เลือดออก ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8423-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาลาวี สนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด