กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี


“ โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านทันตสาธารณสุข รพ.สต.บ้านป่าบาก ”

ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายจิตติณัฐช์ สุวรรณรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านทันตสาธารณสุข รพ.สต.บ้านป่าบาก

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3341-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านทันตสาธารณสุข รพ.สต.บ้านป่าบาก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านทันตสาธารณสุข รพ.สต.บ้านป่าบาก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านทันตสาธารณสุข รพ.สต.บ้านป่าบาก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3341-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาสาสมัครสาธารณสุข หรือ อสม. มีบทบาทในการเป็นผู้นำการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพอนามัย และคุณภาพชีวิตของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agents) พฤติกรรมด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน และมีหน้าที่ แก้ข่าวร้าย กระจายข่าวดี ชี้บริการ ประสานงานสาธารณสุข บำบัดทุกข์ประชาชน ดำรงตนเป็นตัวอย่างที่ดี เมื่อพิจารณาโดยบทบาทแล้ว อสม.จึงเปรียบเสมือนเป็นแพทย์คนแรกของชุมชน แต่ในสภาพปัจจุบันพบว่า อสม.ถูกลดบทบาทลงไปมากทั้งนี้อาจเป็นเพราะข้อจำกัดด้านบริบทของแต่ละพื้นที่การที่ยังไม่มีลักษณะของงานที่รับผิดชอบที่ชัดเจนรวมไปถึงปัจจัยด้านความรู้ความสามารถที่อาจมีข้อจำกัดทำให้ อสม.อาจไม่มั่นใจที่จะแสดงบทบาทความรู้ความสามารถของตนออกมาได้อย่างเต็มที่ ทางผู้จัดทำโครงการจึงมีแนวคิดที่จะส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของ อสม. โดยได้มุ่งเน้นที่งานทันต-สาธารณสุข ผ่านกลุ่มเป้าหมายคือเด็กเล็ก0-3ปี กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้พิการ
ทั้งนี้ เนื่องจากผลจากการสำรวจสถานการณ์ของอำเภอป่าบอน จากการตรวจสภาวะช่องปากของเด็ก0-3ปีมีอัตราฟันผุถึงร้อยละ 56.02ผู้สูงอายุมีคู่สบฟันไม่เกิน4คู่ร้อยละ 52.08 มีผู้พิการติดบ้านติดเตียง ประมาณ 40 ราย โดยในระยะยาว โครงการพัฒนาศักยภาพของ อสม.ได้มีการคาดหวังไว้ว่าจะขยายผลไปสู่กลุ่มอื่นๆในอำเภอป่าบอนด้วยต่อไปในภายภาคหน้า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. อสม.มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
  2. อสม.สามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากสู่ประชาชนได้
  3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แกนนำอสม.ฝึกปฏิบัติงานในกลุ่มต่างๆ
  2. แกนนำอสม.ถ่ายทอดความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพให้แก่ อสม.ตัวแทนในแต่ละตำบลเพื่อให้อสม.ไปถ่ายทอดความรู้และสอนประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
  3. อสม.ในแต่ละหมู่บ้านออกเยี่ยมบ้านในแต่ละกลุ่มวัย
  4. สรุปโครงการ ผลิตนวัตกรรม ประกวดผลงานนวัตกรรม เรื่องเล่า ความประทับใจ
  5. อบรมแกนนำ อสม.เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 180
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 54
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 36
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อสม.มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก
2.อสม.สามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากสู่ประชาชน 3.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้นได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 อสม.มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องร้อยละ80
1.00

 

2 อสม.สามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากสู่ประชาชนได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องร้อยละ80
1.00

 

3 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : 1.การเกิดฟันผุของเด็กกลุ่ม0-3ปีลดลงร้อยละ 1 ใน 1 ปี 2.ผู้สูงอายุมีคู่สบฟันหลังใช้งานมากกว่า4คู่ ร้อยละ 55
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 270
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 180
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 54
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 36
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อสม.มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (2) อสม.สามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากสู่ประชาชนได้ (3) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แกนนำอสม.ฝึกปฏิบัติงานในกลุ่มต่างๆ (2) แกนนำอสม.ถ่ายทอดความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพให้แก่  อสม.ตัวแทนในแต่ละตำบลเพื่อให้อสม.ไปถ่ายทอดความรู้และสอนประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง (3) อสม.ในแต่ละหมู่บ้านออกเยี่ยมบ้านในแต่ละกลุ่มวัย (4) สรุปโครงการ ผลิตนวัตกรรม ประกวดผลงานนวัตกรรม เรื่องเล่า ความประทับใจ (5) อบรมแกนนำ อสม.เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านทันตสาธารณสุข รพ.สต.บ้านป่าบาก จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3341-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจิตติณัฐช์ สุวรรณรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด