โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา ”
ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุตำบลหารเทา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา
ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3339-03-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3339-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งที่มีบทบาทต่อสุขภาพ ถ้ารับประทานอาหารได้ ถูกต้อง กล่าวคือรับประทานอาหารที่ทำให้ร่างกายได้รับสารอาหารครบทุกชนิดที่ร่างกายต้องการในปริมาณที่เพียงพอก็จะทำให้ร่างกายมีภาวะโชนาการที่ดีมีร่างกายที่แข็งแรงสมวัย ไม่เจ็บไข้ได้ป่วย หรือเป็นโรคเรื้อรังต่างๆ
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุ ได้แก่ ๑.กระบวนการแก่(aging process) ของร่างกายหรือการเสื่อมของประสาททั้ง ๕ ซึ่งมีผลต่อการบริโภคและภาวะโชนาการเช่น ฟันมีการสึกกร่อนหรือหักต้องใช้ฟันปลอม ทำให้เคี้ยวอาหารได้ลำบาก จมูกมีกลิ่นที่ผิดไปจากเดิมทำงานไม่ได้ดี ไม่ได้กลิ่นของอาหารที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิกความอยากรับประทานอาหาร เป็นต้น ถ้าไม่มีการดูแลในด้านการประกอบอาหารให้อ่่อนนุ่มก็จะเป็นสาเหตุให้รับประทานอาหารได้น้อยลง ประสาทรับรสที่ลิ้นเสื่อมลง ไม่ค่อยทราบถึงรสอาหารหรือมีการรับรสเปลี่ยนแปลงไป ความชอบรสอาหารต่างไปจากเดิม เช่น บางคนเคยชอบรสเปรี้ยว กลับเปลี่ยนไม่ชอบเมื่ออายุมากขึ้นหรือชอบรับประทานอาหารที่มีรสขม และรสหวานมากขึ้น บางคนชอบรับประทานข้าวกับผลไม้ เป็นต้น ความเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ ถ้าไม่ได้รับความสนใจหรือสังเกตุจากผู้ใกล้ชิดจะทำให้ไม่สามารถจัดอาหาารให้เป็นไปตามที่ต้องการได้ และรับประทานอาหารได้น้อยลง นอกจากนี้ระบบทางเดินอาหารก็มีการเปลี่ยนแปลงน้ำย่อยต่างๆน้ำดีจากตับอ่อน รวมถึง การบีบตัวของกะเพาะ และลำไส้ทำงานน้อยลงเป็นสาเหตุให้การย่อยดูดซึมสารอาหารลดน้อยตามไปด้วย การขับถ่ายน้อยลงมีอาการท้องผูก ท้องอืด มีแก๊ส แน่น จุกเสียด ทำให้ไม่สบาย หลังการรับประทานอาหารปัญหาความเสื่อมลง ของสภาพร่างกายเช่นนี้เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การบริโภคอาหารของผู้สูงอายุซึ่งมีทั้งภาวะโภชนาการเกินและสภาวะโภชนาการขาดได้ ถ้าลูกหลานหรือผู้ดูแลไม่เข้าใจไม่ได้ดูแลในด้านอาหารอย่างใกล้ชิด ๒.ภาวะทางเศรษฐกิจ ผู้สูงอายุมีรายได้ที่ลดลง ทำให้ผู้สูงอายุต้องพิจารณาใช้เงินอย่างประหยัดเนื่องจากกลัวรายรับไม่สมดุลกับรายจ่าย การซื้ออาหารมารับประทานก็พยายามหาของถูก อาจทำให้กระทบถึงภาวะโชนาการของผู้สูงอายุดังกล่าว ๓.สภาวะทางจิตใจ โดยเฉพาะกับผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพัง การถูกทอดทิ้งไม่มีใครดูแลมีผลถึงสภาพของจิตใจ และการยอมรับอาหารของผู้สูงอายุได้ และเป็นสาเหตุของการเกิดปัญหาทางโภชนาการในผู้สูงอายุได้ ๔.ภาวะโภชนาการเดิมที่เป็นอยู่และบริโภคนิสัย ผู้สูงอายุที่มีภาวะโภชนาการที่ไม่ดีมาก่อน เช่น เป็นโรคอ้วนมีไขมันสูงในเลือด ความดันโลหิตสูง ฯลฯ เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุอาการต่างๆของโรคจะรุนแรงมากขึ้น ถ้าต้องมีการกำจัดอาหาร อาจส่งผลต่อภาวะโภชนาการได้ นอกจากนี้บริโภคนิสัยของผู้สูงอายุแต่ละคน เช่น ชอบอาหารที่มีไขมันสูง ชอบอาหารที่มีรสหวาน หรือรับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด ก็เป็นตัวกำหนดให้ทราบถึงภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุคนนั้นในอนาคตได้ ๕.ความรู้ทางด้านโภชนาการผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยที่ให้ความสนใจทางด้านโภชนาการและหาความรู้เพิ่มทางด้านโภชนาการเมื่อมีอายุมากขึ้น แหล่งความรู็มีมากมายทั้งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องถ้าหากได้รับความรู้ที่ไม่ถูกต้องโดยเฉพาะคำบอกเล่าที่ไม่สามารถหาคำตอบได้หรือผลการทดสอบทางการแพทย์มาสนับสนุนอาจจะเป็ฌนสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดปัญหาทางโภชนาการได้ในระยาวในขณะเดียวกัน ถ้าผู้สูงอายุเปิดใจกว้างรับฟังความคิดเห็นยอมรับในข่าวสารต่างๆที่เปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน และนำมาสู่การปฏิบัติที่ถูกต้องย่อมจะเป็นทางหนึ่งในการช่วยรักษาสุขภาพให้แข็งแรง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.ผู้สูงอายุมีความรู้ ญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีเจตคติทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- ๒.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างการแข็งแรงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับโภชนาการละการบริโภคอาการที่ไม่ถูกต้อง
- ๓.ผู้สูงอายุที่มีการปัญหาเรื่องโภชนาการได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑.ประชุมเตรียมโครงการแก่กรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯผู้ปฏิบัติงาน
- 2.ผู้ปฏิบัติงานคัดกรองโภชนาการผู้สูงอายุในการใช้แบบฟอร์มคัดกรอง Mini Nutritional Assessment
- 3.สรุปผลการคัดกรองผู้สูงอายุในเรื่องโภชนาการ ร่วมหารือแนวทางการช่วยเหลือสำหรับผู้สูงอายุที่ขาดสารอาหารร่วมกับ พมจ.
- 4.จัดอบรมให้ความรู้กับผู้สูงอายุ ญาติที่ดูแลผู้สูงอายุเข้าร่วมรับการอบรมโดยแบ่งออกเป็น 2 รุ่น
- รุ่นที่ 1 ภาวะโภชนาการการเกิน
- รุ่นที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุหรือผู้ที่ดูแล ที่มีภาวะขาดสารอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
1,509
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุมีความรู้ ญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีเจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง
2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง
3.ผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องโภชนาการได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.ผู้สูงอายุมีความรู้ ญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีเจตคติทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๑.ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีเจตคติ ทักษะ ในการดูแลเรื่องโภชนาการเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๗๐
0.00
2
๒.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างการแข็งแรงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับโภชนาการละการบริโภคอาการที่ไม่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๒.ลดอัตราการเจ็บป่วยด้าวยโภชนาการในผู้สูงอายุ ร้อยละ ๒๐
0.00
3
๓.ผู้สูงอายุที่มีการปัญหาเรื่องโภชนาการได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาต่อไป
ตัวชี้วัด : ๓.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกวิธี ร้อยละ ๗๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1509
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
1,509
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.ผู้สูงอายุมีความรู้ ญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีเจตคติทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) ๒.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างการแข็งแรงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับโภชนาการละการบริโภคอาการที่ไม่ถูกต้อง (3) ๓.ผู้สูงอายุที่มีการปัญหาเรื่องโภชนาการได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.ประชุมเตรียมโครงการแก่กรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯผู้ปฏิบัติงาน (2) 2.ผู้ปฏิบัติงานคัดกรองโภชนาการผู้สูงอายุในการใช้แบบฟอร์มคัดกรอง Mini Nutritional Assessment (3) 3.สรุปผลการคัดกรองผู้สูงอายุในเรื่องโภชนาการ ร่วมหารือแนวทางการช่วยเหลือสำหรับผู้สูงอายุที่ขาดสารอาหารร่วมกับ พมจ. (4) 4.จัดอบรมให้ความรู้กับผู้สูงอายุ ญาติที่ดูแลผู้สูงอายุเข้าร่วมรับการอบรมโดยแบ่งออกเป็น 2 รุ่น (5) รุ่นที่ 1 ภาวะโภชนาการการเกิน (6) รุ่นที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุหรือผู้ที่ดูแล ที่มีภาวะขาดสารอาหาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3339-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุตำบลหารเทา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา ”
ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุตำบลหารเทา
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3339-03-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3339-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งที่มีบทบาทต่อสุขภาพ ถ้ารับประทานอาหารได้ ถูกต้อง กล่าวคือรับประทานอาหารที่ทำให้ร่างกายได้รับสารอาหารครบทุกชนิดที่ร่างกายต้องการในปริมาณที่เพียงพอก็จะทำให้ร่างกายมีภาวะโชนาการที่ดีมีร่างกายที่แข็งแรงสมวัย ไม่เจ็บไข้ได้ป่วย หรือเป็นโรคเรื้อรังต่างๆ ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุ ได้แก่ ๑.กระบวนการแก่(aging process) ของร่างกายหรือการเสื่อมของประสาททั้ง ๕ ซึ่งมีผลต่อการบริโภคและภาวะโชนาการเช่น ฟันมีการสึกกร่อนหรือหักต้องใช้ฟันปลอม ทำให้เคี้ยวอาหารได้ลำบาก จมูกมีกลิ่นที่ผิดไปจากเดิมทำงานไม่ได้ดี ไม่ได้กลิ่นของอาหารที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิกความอยากรับประทานอาหาร เป็นต้น ถ้าไม่มีการดูแลในด้านการประกอบอาหารให้อ่่อนนุ่มก็จะเป็นสาเหตุให้รับประทานอาหารได้น้อยลง ประสาทรับรสที่ลิ้นเสื่อมลง ไม่ค่อยทราบถึงรสอาหารหรือมีการรับรสเปลี่ยนแปลงไป ความชอบรสอาหารต่างไปจากเดิม เช่น บางคนเคยชอบรสเปรี้ยว กลับเปลี่ยนไม่ชอบเมื่ออายุมากขึ้นหรือชอบรับประทานอาหารที่มีรสขม และรสหวานมากขึ้น บางคนชอบรับประทานข้าวกับผลไม้ เป็นต้น ความเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ ถ้าไม่ได้รับความสนใจหรือสังเกตุจากผู้ใกล้ชิดจะทำให้ไม่สามารถจัดอาหาารให้เป็นไปตามที่ต้องการได้ และรับประทานอาหารได้น้อยลง นอกจากนี้ระบบทางเดินอาหารก็มีการเปลี่ยนแปลงน้ำย่อยต่างๆน้ำดีจากตับอ่อน รวมถึง การบีบตัวของกะเพาะ และลำไส้ทำงานน้อยลงเป็นสาเหตุให้การย่อยดูดซึมสารอาหารลดน้อยตามไปด้วย การขับถ่ายน้อยลงมีอาการท้องผูก ท้องอืด มีแก๊ส แน่น จุกเสียด ทำให้ไม่สบาย หลังการรับประทานอาหารปัญหาความเสื่อมลง ของสภาพร่างกายเช่นนี้เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การบริโภคอาหารของผู้สูงอายุซึ่งมีทั้งภาวะโภชนาการเกินและสภาวะโภชนาการขาดได้ ถ้าลูกหลานหรือผู้ดูแลไม่เข้าใจไม่ได้ดูแลในด้านอาหารอย่างใกล้ชิด ๒.ภาวะทางเศรษฐกิจ ผู้สูงอายุมีรายได้ที่ลดลง ทำให้ผู้สูงอายุต้องพิจารณาใช้เงินอย่างประหยัดเนื่องจากกลัวรายรับไม่สมดุลกับรายจ่าย การซื้ออาหารมารับประทานก็พยายามหาของถูก อาจทำให้กระทบถึงภาวะโชนาการของผู้สูงอายุดังกล่าว ๓.สภาวะทางจิตใจ โดยเฉพาะกับผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพัง การถูกทอดทิ้งไม่มีใครดูแลมีผลถึงสภาพของจิตใจ และการยอมรับอาหารของผู้สูงอายุได้ และเป็นสาเหตุของการเกิดปัญหาทางโภชนาการในผู้สูงอายุได้ ๔.ภาวะโภชนาการเดิมที่เป็นอยู่และบริโภคนิสัย ผู้สูงอายุที่มีภาวะโภชนาการที่ไม่ดีมาก่อน เช่น เป็นโรคอ้วนมีไขมันสูงในเลือด ความดันโลหิตสูง ฯลฯ เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุอาการต่างๆของโรคจะรุนแรงมากขึ้น ถ้าต้องมีการกำจัดอาหาร อาจส่งผลต่อภาวะโภชนาการได้ นอกจากนี้บริโภคนิสัยของผู้สูงอายุแต่ละคน เช่น ชอบอาหารที่มีไขมันสูง ชอบอาหารที่มีรสหวาน หรือรับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด ก็เป็นตัวกำหนดให้ทราบถึงภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุคนนั้นในอนาคตได้ ๕.ความรู้ทางด้านโภชนาการผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยที่ให้ความสนใจทางด้านโภชนาการและหาความรู้เพิ่มทางด้านโภชนาการเมื่อมีอายุมากขึ้น แหล่งความรู็มีมากมายทั้งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องถ้าหากได้รับความรู้ที่ไม่ถูกต้องโดยเฉพาะคำบอกเล่าที่ไม่สามารถหาคำตอบได้หรือผลการทดสอบทางการแพทย์มาสนับสนุนอาจจะเป็ฌนสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดปัญหาทางโภชนาการได้ในระยาวในขณะเดียวกัน ถ้าผู้สูงอายุเปิดใจกว้างรับฟังความคิดเห็นยอมรับในข่าวสารต่างๆที่เปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน และนำมาสู่การปฏิบัติที่ถูกต้องย่อมจะเป็นทางหนึ่งในการช่วยรักษาสุขภาพให้แข็งแรง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.ผู้สูงอายุมีความรู้ ญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีเจตคติทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- ๒.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างการแข็งแรงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับโภชนาการละการบริโภคอาการที่ไม่ถูกต้อง
- ๓.ผู้สูงอายุที่มีการปัญหาเรื่องโภชนาการได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑.ประชุมเตรียมโครงการแก่กรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯผู้ปฏิบัติงาน
- 2.ผู้ปฏิบัติงานคัดกรองโภชนาการผู้สูงอายุในการใช้แบบฟอร์มคัดกรอง Mini Nutritional Assessment
- 3.สรุปผลการคัดกรองผู้สูงอายุในเรื่องโภชนาการ ร่วมหารือแนวทางการช่วยเหลือสำหรับผู้สูงอายุที่ขาดสารอาหารร่วมกับ พมจ.
- 4.จัดอบรมให้ความรู้กับผู้สูงอายุ ญาติที่ดูแลผู้สูงอายุเข้าร่วมรับการอบรมโดยแบ่งออกเป็น 2 รุ่น
- รุ่นที่ 1 ภาวะโภชนาการการเกิน
- รุ่นที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุหรือผู้ที่ดูแล ที่มีภาวะขาดสารอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 1,509 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุมีความรู้ ญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีเจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง 2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง 3.ผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องโภชนาการได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.ผู้สูงอายุมีความรู้ ญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีเจตคติทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ๑.ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีเจตคติ ทักษะ ในการดูแลเรื่องโภชนาการเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๗๐ |
0.00 |
|
||
2 | ๒.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างการแข็งแรงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับโภชนาการละการบริโภคอาการที่ไม่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ๒.ลดอัตราการเจ็บป่วยด้าวยโภชนาการในผู้สูงอายุ ร้อยละ ๒๐ |
0.00 |
|
||
3 | ๓.ผู้สูงอายุที่มีการปัญหาเรื่องโภชนาการได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาต่อไป ตัวชี้วัด : ๓.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกวิธี ร้อยละ ๗๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1509 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 1,509 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.ผู้สูงอายุมีความรู้ ญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีเจตคติทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) ๒.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างการแข็งแรงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับโภชนาการละการบริโภคอาการที่ไม่ถูกต้อง (3) ๓.ผู้สูงอายุที่มีการปัญหาเรื่องโภชนาการได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.ประชุมเตรียมโครงการแก่กรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯผู้ปฏิบัติงาน (2) 2.ผู้ปฏิบัติงานคัดกรองโภชนาการผู้สูงอายุในการใช้แบบฟอร์มคัดกรอง Mini Nutritional Assessment (3) 3.สรุปผลการคัดกรองผู้สูงอายุในเรื่องโภชนาการ ร่วมหารือแนวทางการช่วยเหลือสำหรับผู้สูงอายุที่ขาดสารอาหารร่วมกับ พมจ. (4) 4.จัดอบรมให้ความรู้กับผู้สูงอายุ ญาติที่ดูแลผู้สูงอายุเข้าร่วมรับการอบรมโดยแบ่งออกเป็น 2 รุ่น (5) รุ่นที่ 1 ภาวะโภชนาการการเกิน (6) รุ่นที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุหรือผู้ที่ดูแล ที่มีภาวะขาดสารอาหาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุในตำบลหารเทา จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3339-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุตำบลหารเทา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......