กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพลดโรค 3อ2ส ตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านปาเต๊ะเหนือ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพลดโรค 3อ2ส ตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5303-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพลดโรค 3อ2ส ตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพลดโรค 3อ2ส ตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพลดโรค 3อ2ส ตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5303-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ถือเป็นปัญหาที่กำลังเพิ่มความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ มีแนวโน้มผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น และที่สำคัญคือเป็นสาเหตุหลักของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงถึงขั้นพิการและเสียชีวิต โดยโรคที่เป็นปัญหา ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง และรวมไปถึงโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็ง โรคอ้วนลงพุงในกลุ่มเสี่ยง ทั้งนี้พบว่าจากการคัดกรอง มีกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ จำนวน 449 คน คิดเป็นร้อยละ 47.36กลุ่มป่วยใหม่ จำนวน 17 คน แยกเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 9 คน และโรคเบาหวาน จำนวน 6 คน คิดเป็นอัตราป่วย 2.02 (ต่อพันประชากร) และมีภาวะแทรกซ้อนโรคหลอดเลือดสมอง 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.67 (ต่อพันประชากร) นอกจากนี้ในการดูแลสุขภาพของประชาชนกลุ่มดังกล่าว จะพบว่า ผู้ป่วยมักมีพฤติกรรมสุขภาพไม่ดี เช่น ไม่ควบคุมการรับประทานอาหาร ไม่ชอบออกกำลังกาย อารมณ์และความเครียด ร่วมกับการรับประทานยาที่ไม่ต่อเนื่อง ทำให้มีโอกาสที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน และความพิการตามมาโดยมีผู้พิการทางร่างกายและการเคลื่อนไหวจำนวน 15 คนสาเหตุมาจากโรคไม่ติดต่อจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 40 นอกจากนี้ยังมีผู้พิการประเภทอื่น จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 0.84 ของประชากรทั้งหมด สำหรับปัญหาของผู้พิการ คือ การช่วยเหลือตนเองได้บ้าง หรือไม่ได้เลย ต้องให้ผู้ดูแลช่วยเหลือ แต่พบว่า ผู้ดูแลไม่มีเวลาเพียงพอในการดูแลและขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลและฟื้นฟูสภาพผู้พิการแต่ละประเภท ทำให้ผู้พิการขาดการเอาใจใส่เท่าที่ควร และจากการสอบถามข้อมูลด้านการออกกำลังกาย พบว่า ประชาชนมักไม่ให้ความสนใจในการออกกำลังกาย เนื่องจากยังไม่เกิดโรคที่รุนแรง เมื่อเจ็บป่วยก็เพียงรับยาที่หน่วยบริการก็หาย จึงไม่จำเป็นต้องออกกำลังกายให้เหนื่อยและยุ่งยาก เป็นอุปสรรคในการทำงาน ทั้งนี้จึงก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น และมีภาวะแทรกซ้อนจนพิการเพิ่มขึ้นเช่นกัน และในการคืนข้อมูลด้านสาธารณสุขของชุมชน ยังพบว่า ภาวะเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการประกอบอาชีพ เป็นความไม่ปลอดภัยที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันซึ่งสามารถแก้ไขปัญหาและหาวิธีการป้องกันต่อสถานการณ์เสี่ยงนั้นได้หากรู้สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุและช่วยกันแก้ไขร่วมกันทุกฝ่าย เพื่อให้เกิดความปลอดภัยมากที่สุดก็จะลดความเสี่ยงของการบาดเจ็บการเจ็บป่วย ความพิการ และการเสียชีวิตได้ จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น พอสรุปได้ว่าการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมักจะมีความเชื่อมโยงกับพฤติกรรมสุขภาพเช่นการขาดความตระหนักต่อโรคขาดการควบคุมอาหาร ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การไม่รับประทานยาในกลุ่มผู้ป่วย เมื่อพิการจากโรค มักไม่มีผู้ดูแลหรือผู้ดูแลมักขาดความรู้ในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยและผู้พิการ รวมถึงการขาดความตระหนักในการป้องกันอุบัติเหตุในชุมชน ยังเป็นปัญหาหลักและส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดีของประชาชนโดยตรง ทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านปาเต๊ะเหนือ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ได้ตระหนักถึงปัจจัยและโอกาสในการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่ทวีคามรุนแรงและมีจำนวนผู้ป่วยหรือผู้ได้รับผลกระทบอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพลดโรค 3อ2ส ตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2561 โดยมีเป้าหมายที่สำคัญ คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน เปิดโอกาสแลกเปลี่ยนวิถีด้านสุขภาวะและพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้นโยบาย 3อ2ส ของกระทรงสาธารณสุข ในการดำเนินงานที่จริงจังและต่อเนื่อง ซึ่งรวมถึงการลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาวและพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
  2. เพื่อส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน
  3. เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์
  2. 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ
  3. 3. ร่วมกันจัดนิทรรศการความรู้เรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ 3อ2ส ให้แก่ประชาชน ได้แก่ ผู้รับบริการในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ , นักเรียนในโรงเรียน , ประชาชนทั่วไปในชุมชน เช่น ในมัสยิด ศูนย์อเนกประสงค์หมู่บ้าน ร้านค้าขายของชำ
  4. 4.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วย เรื่อง 3อ2ส
  5. 4.2 กิจกรรมดูแลสุขภาพผู้ป่วยในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ
  6. 5. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง และผู้ป่วยพิการ โดย อสม. จิตอาสา ทีมสุขภาพ และผู้มีบทบาทสำคัญต่อผู้ป่วย เช่น ญาติ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา
  7. 4.3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และส่งเสริมการออกกำลังกายในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สนใจ
  8. 4.4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง และผู้พิการ สำหรับผู้ดูแลและจิตอาสาในชุมชน
  9. 4.5 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุในชุมชนและการมีส่วนร่วมในการรณรงค์ลดอุบัติเหตุแบบบูรณาการในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สนใจ
  10. 6. จัดประกวดครอบครัวต้นแบบ 3อ2ส โดย อสม. ทีมสุขภาพ และคณะกรรมการชุมชน
  11. 7. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 140
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 35
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
  2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น
  3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์

วันที่ 14 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ  เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง           2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น           3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

 

0 0

2. 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ

วันที่ 11 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง           2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น           3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

 

0 0

3. 3. ร่วมกันจัดนิทรรศการความรู้เรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ 3อ2ส ให้แก่ประชาชน ได้แก่ ผู้รับบริการในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ , นักเรียนในโรงเรียน , ประชาชนทั่วไปในชุมชน เช่น ในมัสยิด ศูนย์อเนกประสงค์หมู่บ้าน ร้านค้าขายของชำ

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมกันจัดนิทรรศการความรู้เรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ 3อ2ส ให้แก่ประชาชน ได้แก่ ผู้รับบริการในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ , นักเรียนในโรงเรียน , ประชาชนทั่วไปในชุมชน เช่น ในมัสยิด ศูนย์อเนกประสงค์หมู่บ้าน ร้านค้าขายของชำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง           2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น           3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

 

0 0

4. 4.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วย เรื่อง 3อ2ส

วันที่ 4 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วย เรื่อง 3อ2ส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง           2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น           3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

 

120 0

5. 4.2 กิจกรรมดูแลสุขภาพผู้ป่วยในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ

วันที่ 5 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • กิจกรรมดูแลสุขภาพผู้ป่วยในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง           2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น           3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

 

720 0

6. 5. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง และผู้ป่วยพิการ โดย อสม. จิตอาสา ทีมสุขภาพ และผู้มีบทบาทสำคัญต่อผู้ป่วย เช่น ญาติ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา

วันที่ 5 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง และผู้ป่วยพิการ โดย อสม. จิตอาสา ทีมสุขภาพ และผู้มีบทบาทสำคัญต่อผู้ป่วย เช่น ญาติ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง           2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น           3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

 

0 0

7. 4.3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และส่งเสริมการออกกำลังกายในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สนใจ

วันที่ 3 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และส่งเสริมการออกกำลังกายในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สนใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
  2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น
  3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

 

140 0

8. 4.4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง และผู้พิการ สำหรับผู้ดูแลและจิตอาสาในชุมชน

วันที่ 7 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง และผู้พิการ สำหรับผู้ดูแลและจิตอาสาในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
  2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น
  3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

 

140 0

9. 4.5 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุในชุมชนและการมีส่วนร่วมในการรณรงค์ลดอุบัติเหตุแบบบูรณาการในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สนใจ

วันที่ 10 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุในชุมชนและการมีส่วนร่วมในการรณรงค์ลดอุบัติเหตุแบบ บูรณาการในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สนใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง           2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น           3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

 

140 0

10. 6. จัดประกวดครอบครัวต้นแบบ 3อ2ส โดย อสม. ทีมสุขภาพ และคณะกรรมการชุมชน

วันที่ 6 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดประกวดครอบครัวต้นแบบ 3อ2ส โดย อสม. ทีมสุขภาพ และคณะกรรมการชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
  2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น
  3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

 

0 0

11. 7. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

วันที่ 26 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง           2. กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเรื่องสุขภาพและการใช้หลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น           3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคอย่างยั่งยืน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผลการทดสอบความรู้ในกลุ่มเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลางและดี มากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค
ตัวชี้วัด : ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค จากการร่วมทำกิจกรรมร่วมกันในชุมชน ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 80 ของภาคเครือข่ายในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 695
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 140
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 35
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง (2) เพื่อส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน (3) เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ  เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ (2) 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ (3) 3. ร่วมกันจัดนิทรรศการความรู้เรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ 3อ2ส ให้แก่ประชาชน ได้แก่ ผู้รับบริการในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ , นักเรียนในโรงเรียน , ประชาชนทั่วไปในชุมชน เช่น ในมัสยิด ศูนย์อเนกประสงค์หมู่บ้าน ร้านค้าขายของชำ (4) 4.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วย เรื่อง 3อ2ส (5) 4.2 กิจกรรมดูแลสุขภาพผู้ป่วยในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ (6) 5. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง และผู้ป่วยพิการ โดย อสม. จิตอาสา ทีมสุขภาพ และผู้มีบทบาทสำคัญต่อผู้ป่วย เช่น ญาติ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา (7) 4.3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และส่งเสริมการออกกำลังกายในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สนใจ (8) 4.4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง และผู้พิการ สำหรับผู้ดูแลและจิตอาสาในชุมชน (9) 4.5 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุในชุมชนและการมีส่วนร่วมในการรณรงค์ลดอุบัติเหตุแบบบูรณาการในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สนใจ (10) 6. จัดประกวดครอบครัวต้นแบบ 3อ2ส โดย อสม. ทีมสุขภาพ และคณะกรรมการชุมชน (11) 7. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพลดโรค 3อ2ส ตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5303-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านปาเต๊ะเหนือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด