กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางปอ


“ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561 ”

ตำบลบางปอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางยาตี .. มะเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลบางปอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61L2493112 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางปอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61L2493112 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 104,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางปอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการจัดทำโครงการ) จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออก รพ.สต.บางปอ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส5 หมู่บ้าน พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ปี 2560จำนวน 5 ราย อัตราป่วย89.02 ต่อแสนประชากร กระจายใน 5 หมู่บ้าน ซึ่งเกินจากอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่กำหนดไว้ไม่เกิน50 ต่อแสนประชากร
การป้องกันและการควบคุมโรคไข้เลือดออกเป็นมาตรการที่ต้องดำเนินการไปพร้อมๆกับการมีส่วนร่วมของชุมชนที่ดำเนินการอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องด้วยความรู้และเข้าใจในหลักการป้องกันการควบคุมโรคที่ถูกต้อง ด้วยศักยภาพและตามบริบทของชุมชนจึงจะสามารถป้องกันและควบคุมการระบาดในพื้นที่อื่นๆได้การสร้างเครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ( SRRT ) ในตำบลให้เข้มแข็ง สามารถทำงานประสานเชื่อมโยงกันโดยมีบทบาทหลักในการเฝ้าระวังเหตุการณ์ความผิดปกติของโรคภัยไข้เจ็บในชุมชนด้วยการนำกิจกรรมการดำเนินงานควบคุมโรคเบื้องต้นมาเป็นหลักในการควบคุมโรค การควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยวิธีการใช้เครื่องพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายตัวแก่ในบ้านหลังจากเกิดโรคแล้วนั้น เป็นการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอีกหนึ่งมาตรการที่จำเป็นต้องดำเนินการในทันทีที่มีการเกิดโรค ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานและร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนิน งานกิจกรรมตามโครงการฯในทุกๆขั้นตอนเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
ทีมสุขภาพและชุมชนตำบลบางปอตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีประสิทธิภาพ จึงได้ร่วมจัดทำโครงการร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออกตำบลบางปอ ปี2561 ขึ้น เพื่อส่งเสริมความรู้และเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานป้องกันแลการะควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกแก่ทีมสุขภาพและผู้เข้าร่วมรณรงค์ร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออกตำบลบางปอที่มีประสิทธิภาพต่อไป วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการแก่ทีมสุขภาพ รพ.สต.บางปอ (จนท.สส./อสม.)แกนนำครอบครัว 2. อบรมเชิงปฎิบัติการส่งเสริมความรู้หลักเบื้องต้นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่มีประสิทธิภาพแก่ทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว 3. สำรวจลูกน้ำยุงลาย / ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทุกวันศุกร์ โดยทีมสุขภาพทุกหมู่บ้าน ร่วมสรุปค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกวันที่ 15 ของเดือน
4. รณรงค์บ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย เดือนละครั้ง/หมู่บ้าน 5. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ติดตามผลการดำเนินงานทีม SRRT ทีมสุขภาพ2ครั้ง/ปี 6. เฝ้าระวังลูกน้ำยุงลายและพ่นละอองฝอยในโรงเรียน 2ครั้ง 7. พ่นละอองฝอยในบ้านที่พบผู้ป่วยและรอบบ้านผู้ป่วยรัศมี200 เมตร (2 ครั้ง ห่างกัน 2 สัปดาห์ )/แจกทรายอะเบท/ไบกอนสเปรย์ฉีดยุงหลังพ่นหมอกควันในบ้าน/โลชั่นทากันยุงสำหรับหญิงตั้งครรภ์ 8. พ่นละอองฝอยในพื้นที่เกิดโรคซ้ำซาก (2ครั้ง ห่างกัน 2 สัปดาห์ )3หมู่บ้าน หมู่ 1 , 2 , 7 9. ร่วมสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อลดอัตราป่วย/ตายด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. 2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจหลักเบื้องต้นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่มีประสิทธิภาพแก่อาสาสมัครสาธารณสุข
  3. 3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์
  2. ประชุม
  3. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ติดตาม
  4. การจัดซื้อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก5 หมู่บ้านลดลงจากปี 2560ร้อยละ 5
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้หลักเบื้องต้นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและสามารถนำมาใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคในบริบทชุมชนที่รับผิดชอบได้ในระดับหนึ่ง
  3. ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกทุกครั้ง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อลดอัตราป่วย/ตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงจากปี 2560 ร้อยละ 5
200.00

 

2 2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจหลักเบื้องต้นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่มีประสิทธิภาพแก่อาสาสมัครสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ป่วยในระยะเวลา 15 วันเกิดขึ้นหลังจากการควบคุมโรคเมื่อพบผู้ป่วยรายแรก
400.00

 

3 3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคร้อยละ 80
300.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อลดอัตราป่วย/ตายด้วยโรคไข้เลือดออก (2) 2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจหลักเบื้องต้นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่มีประสิทธิภาพแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (3) 3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ (2) ประชุม (3) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ติดตาม (4) การจัดซื้อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61L2493112

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยาตี .. มะเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด