กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต


“ เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลปันแต ”

ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางทัศนีย์ คงเทพ

ชื่อโครงการ เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลปันแต

ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3321-1-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลปันแต จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลปันแต



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลปันแต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3321-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,270.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถทำอันตรายต่อร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใดและปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่าง ๆ ออกมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกันเป็นต้น ตำบลปันแต เป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรมโดยมีพื้นที่ ที่ใช้ในการเกษตร ซึ่งประกอบไปด้วย การทำนาปี ทำสวนยางพารา พืชล้มลุกทางการเกษตรอีกหลายชนิด ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืชจึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรง และสูง ในปีงบประมาณ 256๑จากการเจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๑ พบว่า ตรวจสารเคมี จำนวน 74 คน ปลอดภัย จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 87.84มีความเสี่ยง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 8.11 และไม่ปลอดภัยจำนวน 3 คน คิดเป็น ร้อยละ4.05 กรณีพบว่า เสี่ยงและไม่ปลอดภัยในครั้งที่ ๑ เจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๒ มารับการตรวจจำนวน ๓ คน พบว่า มีความเสี่ยง จำนวน 3คน ร้อยละ 100จากข้อมูลดังกล่าวแสดงว่าเกษตรกรในเขตตำบลปันแต ยังคงมีการใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชอยู่ มีสารเคมีในเลือดในระดับที่เสี่ยง และไม่ปลอดภัย
ดังนั้น ทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปันแตได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่ตำบลปันแต จึงได้จัดทำโครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2561 ขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด ว่าอยู่ในระดับใด เพื่อเฝ้าระวังและรักษาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑ เพื่อให้เกษตรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้เกษตรกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้เกษตรกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย เพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 138
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีตกค้างในเกณฑ์ปกติและปลอดภัย ๒ เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 1 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1 จัดการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรทราบเพื่อกลุ่มเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายและนัดวันเวลาและสถานที่ในการตรวจ 2 ดำเนินการตรวจหาสารเคมีตกค้างครั้งที่ ๑ สอบถามข้อมูลพฤติกรรมของเกษตรกรเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 เกษตรกรที่มีผลสารเคมีตกค้าง เสี่ยงและไม่ปลอดภัย ให้รางจืดชนิดชงรับประทาน เป็นเวลา ๑ เดือน 4 ดำเนินการตรวจหาสารเคมีตกค้างครั้งที่ ๒ ซ้ำในเกษตรกรที่มีผลสารเคมีตกค้าง เสี่ยงและไม่ปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. เกษตรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด ร้อยละ ๖๗.๙๖ มีผลดังนี้   ๑.๑ เจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๑ พบว่า ปกติ ร้อยละ ๗.๑๔ ปลอดภัย ร้อยละ ๑๗.๑๔ เสี่ยง ร้อยละ ๔๕.๗๒ และไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๓๐.๐๐   ๑.๒ กรณีพบว่า เสี่ยงและไม่ปลอดภัยในครั้งที่ ๑ เจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๒ พบว่า ปกติ ร้อยละ ๑๓.๓๓ ปลอดภัย ร้อยละ ๒๖.๖๗ เสี่ยง ร้อยละ ๕๓.๓๓ และไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๖.๖๗ ๒.เกษตรกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุกราย โดยได้ทำการคัดกรองตามแบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช นบก.1 เพื่อทราบถึงพฤติกรรมการใช้สารเคมีของแต่ละบุคคล นอกจากนี้ยังให้ความรู้โดยใช้สื่อจากแผ่นพับการล้างผักที่ถูกวิธี และแผ่นพับการใช้สมุนไพรล้างพิษ เจาะจงเป็นรายบุคคล ผู้ที่มีระดับสารเคมีระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตจะจ่ายยาผงรางจืดชงรับประทาน ๑ เดือน แล้วนัดมาเจาะเลือดซ้ำครั้งที่ ๒ เพื่อเฝ้าระวังต่อไป ๓.เกษตรกลุ่มเสี่ยง เสี่ยงและไม่ปลอดภัย มีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย ร้อยละ ๔๙.๐๐

 

138 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการที่ทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปันแตได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่ตำบลปันแต จึงได้จัดทำโครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ตำบลปันแต ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ขึ้น อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด ว่าอยู่ในระดับใด เพื่อเฝ้าระวังและรักษา เนื่องจาก ตำบลปันแต เป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรมโดยมีพื้นที่ ที่ใช้ในการเกษตร ซึ่งประกอบไปด้วย การทำนาปี ทำสวนยางพารา พืชล้มลุกทางการเกษตรอีกหลายชนิด ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืชจึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรง และสูงในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ จากการเจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๑ พบว่า ปกติ ร้อยละ ๒.๕๐ ปลอดภัย ร้อยละ ๕๐.๘๓ เสี่ยง ร้อยละ ๓๕.๐๐ และไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๑๑.๖๗ กรณีพบว่า เสี่ยงและไม่ปลอดภัยในครั้งที่ ๑ เจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๒ พบว่า ปลอดภัย ร้อยละ ๓๑.๔๓ เสี่ยง ร้อยละ ๕๔.๒๙ ไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๑๔.๒๘ ต่อมา ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ จากการเจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๑ พบว่า ปกติ ร้อยละ ๕.๙๓ ปลอดภัย ร้อยละ ๖๑.๒๖ เสี่ยง ร้อยละ ๒๕.๖๙ และไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๗.๑๒ กรณีพบว่า เสี่ยงและไม่ปลอดภัยในครั้งที่ ๑ เจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๒ พบว่า ปลอดภัย ร้อยละ ๒๘.๑๒ เสี่ยง ร้อยละ ๓๑.๒๕ ไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๔๐.๖๓ ในปีงบประมาณ 256๐ จากการเจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๑ พบว่า ตรวจสารเคมี จำนวน 74 คน ปลอดภัย จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 87.84 มีความเสี่ยง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 8.11 และไม่ปลอดภัยจำนวน 3 คน คิดเป็น  ร้อยละ4.05 กรณีพบว่า เสี่ยงและไม่ปลอดภัยในครั้งที่ ๑ เจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๒ มารับการตรวจจำนวน ๓ คน พบว่า มีความเสี่ยง จำนวน 3 คน ร้อยละ 100 จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่า เกษตรกรในเขตตำบลปันแต ที่มีสารเคมีในเลือดในระดับที่เสี่ยง และไม่ปลอดภัย เจาะเลือดครั้งที่ ๒ ยังคงมีสารเคมีในเลือดสูงอยู่ ซึ่งผลจาการดำเนินการตามวัตถุประสงค์โครงการ ดังนี้     ๑. เกษตรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด ร้อยละ ๖๗.๙๖ มีผลดังนี้   ๑.๑ เจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๑ พบว่า ปกติ ร้อยละ ๗.๑๔ ปลอดภัย ร้อยละ ๑๗.๑๔ เสี่ยง ร้อยละ ๔๕.๗๒ และไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๓๐.๐๐   ๑.๒ กรณีพบว่า เสี่ยงและไม่ปลอดภัยในครั้งที่ ๑ เจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๒ พบว่า ปกติ ร้อยละ ๑๓.๓๓ ปลอดภัย ร้อยละ ๒๖.๖๗ เสี่ยง ร้อยละ ๕๓.๓๓ และไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๖.๖๗ ๒.เกษตรกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุกราย โดยได้ทำการคัดกรองตามแบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช นบก.1 เพื่อทราบถึงพฤติกรรมการใช้สารเคมีของแต่ละบุคคล นอกจากนี้ยังให้ความรู้โดยใช้สื่อจากแผ่นพับการล้างผักที่ถูกวิธี และแผ่นพับการใช้สมุนไพรล้างพิษ เจาะจงเป็นรายบุคคล ผู้ที่มีระดับสารเคมีระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตจะจ่ายยาผงรางจืดชงรับประทาน ๑ เดือน แล้วนัดมาเจาะเลือดซ้ำครั้งที่ ๒ เพื่อเฝ้าระวังต่อไป ๓.เกษตรกลุ่มเสี่ยง เสี่ยงและไม่ปลอดภัย มีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย ร้อยละ ๔๙.๐๐

-๒-

2.ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ  ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เพราะ.......................................................................

3.การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๓,๒๗๐ บาท ดังนี้ ๑. ค่าชุดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด 3 ชุด ชุดละ ๙๕๐ บาท เป็นเงิน 2,850 บาท ๒. ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมี กำจัดศัตรูพืช นบก.1 หน้า-หลัง แผ่นละ ๑ บาท จำนวน 140 ชุด เป็นเงิน 140 บาท ๓. ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับการล้างผักที่ถูกวิธี หน้า-หลัง แผ่นละ ๑ บาท จำนวน 140 ชุด  เป็นเงิน 140 บาท ๔. ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับการใช้สมุนไพรล้างพิษ หน้า-หลัง แผ่นละ ๑ บาท จำนวน 140 ชุด เป็นเงิน 140 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๓,๒๗๐ บาทคิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ............. .-........................บาท คิดเป็นร้อยละ-

4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน  ไม่มี มี
ปัญหา/อุปสรรค(ระบุ) ๑.ข้อมูลเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงยังไม่ชัดเจน บางคนเลิกใช้ไปแล้ว บางคนใช้เฉพาะยาฆ่าวัชพืช ทำให้ข้อมูลคลาดเคลื่อน ๒.เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงไม่มารับบริการเจาะเลือดในวันเวลาที่นัดหมาย ทำให้ต้องนัดหลายครั้ง

แนวทางแก้ไข(ระบุ) ๑.ให้บริการเจาะเลือดในหมู่บ้านร่วมกับคัดกรองโรคเบาหวานลดความเจ็บปวดจากการเจาะเลือด และให้ความสะดวกกับผู้มารับบริการ


ลงชื่อ...............................ผู้รายงาน (นางสาวพอตา เกตุจิรัฐิติกาล) ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ วันที่ ๒ สิงหาคม 256๑

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑ เพื่อให้เกษตรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1 ร้อยละ ๕๐ ของเกษตรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้เกษตรกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้เกษตรกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : เกษตรกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย เพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๕
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 138
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 138
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑ เพื่อให้เกษตรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้เกษตรกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้เกษตรกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย เพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลปันแต จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3321-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทัศนีย์ คงเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด