โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสุบิน เล่งเจ๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เมื่อบุคคลไม่สามารถเปล่งเสียงพูดได้อย่างถูกต้อง ไม่สามารถพูดได้อย่างราบรื่น หรือมีปัญหาเกี่ยวกับเสียงของตนเอง ถือว่าบุคคลนั้นมีความบกพร่องทางการพูด(Speech Impairment) ซึ่งครอบคลุมลักษณะตั้งแต่ปัญหาความยากลำบากในการออกเสียง หรือความผิดปกติในการออกเสียง(Articulation Disorders) รวมถึงการพูดติดอ่าง(Stuttering) เมื่อบุคคลมีปัญหาในการรับรู้และเข้าใจภาษา(Receptive Language)หรือมีทักษะในการใช้ภาษาบกพร่อง(Expressive language) ถือว่าบุคคลนั้นมีความบกพร่องทางภาษา(Language Impairment ) ทั้งนี้ ผู้ใหญ่และเด็กต่างสามารถประสบปัญหาความบกพร่องทางการพูดและภาษาได้ โดยสาเหตุของความบกพร่องอาจเกิดจากความผิดปกติของร่างกาย หรืออาจเป็นสาเหตุที่ไม่สามารถระบุแน่ชัดได้ สำหรับความบกพร่องทางการพูดและภาษาที่ส่งผลกระทบต่อเด็กนั้นมีหลายรูปแบบ อย่างไรก็ตาม อาจจำแนกได้เป็น 4 ประเภทหลัก ตามลักษณะของควาผิดปกติ ได้แก่
การออกเสียง (Articulation) โดยเด็กจะมีปัญหาในการออกสียงไม่ถูกต้อง หรือพูดไม่ชัด
ความคล่อง(Fluency) เด็กมักมีพฤติกรรมการพูดซ้ำ พูดลากเสียงยาว หรือการละเสียง พยางค์ หรือคำบางคำ นอกจากนี้ปัญหาอาจเกิดจากการหยุดชะงักของการออกเสียง การหายใจเข้า-ออกที่ผิดวิธี หรือหลักการออกเสียงที่ไม่ถูกต้อง
เสียงพูด(Voice) โดยเด็กจะมีคุณภาพเสียงที่ผิดปกติ เช่น ระดับสูงต่ำของเสียง ความก้อง และความดังของเสียง
ภาษา(Language)โดยเด็กจะมีปัญหาในการใช้ภาษาเพื่ออธิบายถึงสิ่งที่ต้องการ ความคิด ข้อมูลข่าวสาร รวมไปถึงไม่สามารถเข้าใจสิ่งท่ผู้อื่นพูดได้อีกด้วย
นอกจากนี้ ความเข้าใจที่ถูกต้องว่า"ความบกพร่องทางการพูดและภาษา" แตกต่างไปจาก "การพัฒนาภาษาล่าช้า(Language delay)" ถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญอย่างยิ่งเนื่องจากอาจเป็นตัวกำหนดความรุนแรงของปัญหา วิธีการรักษา และความเร่งด่วนในการรักษาทั้งนี้เพราะพัฒนาการล่าช้า ซึ่งส่งผลกระทบต่อเด็กวัยเรียนจำนวนประมาณร้อยละ 5 ถึง 10 ถือเป็นปัญหาที่พบได้ทั่วไปในกระบวนการเจริญเติบโตและเรียรรู้ของเด็ก กล่าวคือ เด็กยังคงมีพัฒนาการไปตามลำดับ เพียงแต่ช้ากว่าปกติเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ในทางกลับกัน ปัญหาความบกพร่องทางการพูดและภาษา ถือเป็นลักษณะความพิการอันเกิดจากพัฒนาการางการพูดและภาษาที่ผิดปกติ โดยหากเด็กได้ัรับการยืนยันว่ามีความบกพร่องทางการพูดและภาษา การเข้ารับการรักษาอย่างเร่งด่วนและครบวงจรด้วยความร่วมมือระหว่างแพทย์ นักโสตสัมพัสวิทยา(Audiologist) นักพยาธิวิทยาด้านการพูดและภาษา(Pathologist)รวมไปถึงการดูแลอย่างไกล้ชิดจากครู และโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ปกครอง ย่อมหมายถึงประสิทธิภาพการรักษาที่มากขึ้นและความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหาที่สูงขึ้น อันจะส่งผลให้เด็กสามารถเอาชนะความบกพร่องทางการพูดและภาษาของตนเอง รวมทั้งสามารถมีพัฒนาการที่เหมาะสม และใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติสุขในระยะยาว
ดังนั้นศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู ได้เห็นความสำคัญของการฝึกพูดสำหรับเด็กพิการที่มีความพกพร่องทางการพูดและภาษา โดยเฉพาะการให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล อพม. ครูโรงเรียนเรียนรวม บุคลากรศูนย์ฯสตูลได้มีความรู้ และสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการกลุ่มนี้ให้มีพัฒนาการด้านการพูดที่ดีขึ้นโดยได้รับหลักวิชาการที่ถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญโดยตรง จึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจัหวัดสตูล หน่วยบริการละงู เพื่อเตรียมความพร้อมและเด็กพิการในตำบลละงูมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ สามารถประเมินความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืนได้
- เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูดได้
- เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถฝึกเด็กพิการ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของเด็กพิการและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ การฝึกพูดสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษาโดยนักอรรถบำบัด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
64
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กพิการได้รับการประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน
2.เด็กพิการได้รับการแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูด
3.ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครูโรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู บุคลากรศูนย์ฯสตูล มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของเด็กพิการและเรียนรู้วิธีการรักษาดูแลที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมเชิงปฏิบัติการ การฝึกพูดสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษาโดยนักอรรถบำบัด
วันที่ 12 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการ การฝึกพูดสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษาโดยนักอรรถบำบัด
-ค่าตอบแทนวิทยากร วันละ 6 ชม.ๆละ 600 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 7200 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน 50 บาทx 64 คน x 2 มื้อ เป็นเงิน 6400 บาท
-ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 25 บาท x 64 คน x 4 มื้อ เป็นเงิน 6400 บาท
-ค่าวัสดุ เป็นเงิน 3200 บาท
-ค่าที่พักวิทยากรเหมาจ่าย หัวละ 800 บาท x 2 คืน เป็นเงิน 1600 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กพิการได้รับการประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูด รวมถึงการกลืน ได้รับการแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูด
64
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เด็กพิการได้รับการประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน ได้รับการแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ สามารถประเมินความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืนได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ตำบลละงู ครูโรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู บุคลากรศูนย์สตูลจำนวน 64 คน สามารถประเมินสภาพความผิดปกติทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืนได้
80.00
2
เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูดได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ตำบลละงู ครูโรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู บุคลากรศูนย์สตูล จำนวน 64 คน สามารถแยกประเภทความผิดปกติและให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูดได้
80.00
3
เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถฝึกเด็กพิการ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของเด็กพิการและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถฝึกเด็กพิการ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของเด็กพิการและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
64
64
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
64
64
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ สามารถประเมินความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืนได้ (2) เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูดได้ (3) เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถฝึกเด็กพิการ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของเด็กพิการและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ การฝึกพูดสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษาโดยนักอรรถบำบัด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุบิน เล่งเจ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสุบิน เล่งเจ๊ะ
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เมื่อบุคคลไม่สามารถเปล่งเสียงพูดได้อย่างถูกต้อง ไม่สามารถพูดได้อย่างราบรื่น หรือมีปัญหาเกี่ยวกับเสียงของตนเอง ถือว่าบุคคลนั้นมีความบกพร่องทางการพูด(Speech Impairment) ซึ่งครอบคลุมลักษณะตั้งแต่ปัญหาความยากลำบากในการออกเสียง หรือความผิดปกติในการออกเสียง(Articulation Disorders) รวมถึงการพูดติดอ่าง(Stuttering) เมื่อบุคคลมีปัญหาในการรับรู้และเข้าใจภาษา(Receptive Language)หรือมีทักษะในการใช้ภาษาบกพร่อง(Expressive language) ถือว่าบุคคลนั้นมีความบกพร่องทางภาษา(Language Impairment ) ทั้งนี้ ผู้ใหญ่และเด็กต่างสามารถประสบปัญหาความบกพร่องทางการพูดและภาษาได้ โดยสาเหตุของความบกพร่องอาจเกิดจากความผิดปกติของร่างกาย หรืออาจเป็นสาเหตุที่ไม่สามารถระบุแน่ชัดได้ สำหรับความบกพร่องทางการพูดและภาษาที่ส่งผลกระทบต่อเด็กนั้นมีหลายรูปแบบ อย่างไรก็ตาม อาจจำแนกได้เป็น 4 ประเภทหลัก ตามลักษณะของควาผิดปกติ ได้แก่
การออกเสียง (Articulation) โดยเด็กจะมีปัญหาในการออกสียงไม่ถูกต้อง หรือพูดไม่ชัด
ความคล่อง(Fluency) เด็กมักมีพฤติกรรมการพูดซ้ำ พูดลากเสียงยาว หรือการละเสียง พยางค์ หรือคำบางคำ นอกจากนี้ปัญหาอาจเกิดจากการหยุดชะงักของการออกเสียง การหายใจเข้า-ออกที่ผิดวิธี หรือหลักการออกเสียงที่ไม่ถูกต้อง
เสียงพูด(Voice) โดยเด็กจะมีคุณภาพเสียงที่ผิดปกติ เช่น ระดับสูงต่ำของเสียง ความก้อง และความดังของเสียง
ภาษา(Language)โดยเด็กจะมีปัญหาในการใช้ภาษาเพื่ออธิบายถึงสิ่งที่ต้องการ ความคิด ข้อมูลข่าวสาร รวมไปถึงไม่สามารถเข้าใจสิ่งท่ผู้อื่นพูดได้อีกด้วย
นอกจากนี้ ความเข้าใจที่ถูกต้องว่า"ความบกพร่องทางการพูดและภาษา" แตกต่างไปจาก "การพัฒนาภาษาล่าช้า(Language delay)" ถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญอย่างยิ่งเนื่องจากอาจเป็นตัวกำหนดความรุนแรงของปัญหา วิธีการรักษา และความเร่งด่วนในการรักษาทั้งนี้เพราะพัฒนาการล่าช้า ซึ่งส่งผลกระทบต่อเด็กวัยเรียนจำนวนประมาณร้อยละ 5 ถึง 10 ถือเป็นปัญหาที่พบได้ทั่วไปในกระบวนการเจริญเติบโตและเรียรรู้ของเด็ก กล่าวคือ เด็กยังคงมีพัฒนาการไปตามลำดับ เพียงแต่ช้ากว่าปกติเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ในทางกลับกัน ปัญหาความบกพร่องทางการพูดและภาษา ถือเป็นลักษณะความพิการอันเกิดจากพัฒนาการางการพูดและภาษาที่ผิดปกติ โดยหากเด็กได้ัรับการยืนยันว่ามีความบกพร่องทางการพูดและภาษา การเข้ารับการรักษาอย่างเร่งด่วนและครบวงจรด้วยความร่วมมือระหว่างแพทย์ นักโสตสัมพัสวิทยา(Audiologist) นักพยาธิวิทยาด้านการพูดและภาษา(Pathologist)รวมไปถึงการดูแลอย่างไกล้ชิดจากครู และโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ปกครอง ย่อมหมายถึงประสิทธิภาพการรักษาที่มากขึ้นและความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหาที่สูงขึ้น อันจะส่งผลให้เด็กสามารถเอาชนะความบกพร่องทางการพูดและภาษาของตนเอง รวมทั้งสามารถมีพัฒนาการที่เหมาะสม และใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติสุขในระยะยาว
ดังนั้นศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู ได้เห็นความสำคัญของการฝึกพูดสำหรับเด็กพิการที่มีความพกพร่องทางการพูดและภาษา โดยเฉพาะการให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล อพม. ครูโรงเรียนเรียนรวม บุคลากรศูนย์ฯสตูลได้มีความรู้ และสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการกลุ่มนี้ให้มีพัฒนาการด้านการพูดที่ดีขึ้นโดยได้รับหลักวิชาการที่ถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญโดยตรง จึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจัหวัดสตูล หน่วยบริการละงู เพื่อเตรียมความพร้อมและเด็กพิการในตำบลละงูมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ สามารถประเมินความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืนได้
- เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูดได้
- เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถฝึกเด็กพิการ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของเด็กพิการและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ การฝึกพูดสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษาโดยนักอรรถบำบัด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 64 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กพิการได้รับการประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน 2.เด็กพิการได้รับการแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูด 3.ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครูโรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู บุคลากรศูนย์ฯสตูล มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของเด็กพิการและเรียนรู้วิธีการรักษาดูแลที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมเชิงปฏิบัติการ การฝึกพูดสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษาโดยนักอรรถบำบัด |
||
วันที่ 12 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการ การฝึกพูดสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษาโดยนักอรรถบำบัด -ค่าตอบแทนวิทยากร วันละ 6 ชม.ๆละ 600 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 7200 บาท -ค่าอาหารกลางวัน 50 บาทx 64 คน x 2 มื้อ เป็นเงิน 6400 บาท -ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 25 บาท x 64 คน x 4 มื้อ เป็นเงิน 6400 บาท -ค่าวัสดุ เป็นเงิน 3200 บาท -ค่าที่พักวิทยากรเหมาจ่าย หัวละ 800 บาท x 2 คืน เป็นเงิน 1600 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กพิการได้รับการประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูด รวมถึงการกลืน ได้รับการแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูด
|
64 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เด็กพิการได้รับการประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน ได้รับการแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ สามารถประเมินความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืนได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ตำบลละงู ครูโรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู บุคลากรศูนย์สตูลจำนวน 64 คน สามารถประเมินสภาพความผิดปกติทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืนได้ |
80.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูดได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ตำบลละงู ครูโรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู บุคลากรศูนย์สตูล จำนวน 64 คน สามารถแยกประเภทความผิดปกติและให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูดได้ |
80.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถฝึกเด็กพิการ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของเด็กพิการและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถฝึกเด็กพิการ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของเด็กพิการและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 64 | 64 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 64 | 64 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ สามารถประเมินความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืนได้ (2) เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถแยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูดได้ (3) เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพิการ อพม.ต.ละงู ครู โรงเรียนเรียนรวม ในตำบลละงู และบุคลากรศูนย์ฯ ละงู สามารถฝึกเด็กพิการ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของเด็กพิการและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ การฝึกพูดสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษาโดยนักอรรถบำบัด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลหน่วยบริการละงู จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุบิน เล่งเจ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......