โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย ”
ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 4 บ้านหนองตาบ่ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย
ที่อยู่ ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี
รหัสโครงการ ประเภท 2 / 003 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย จังหวัดกาญจนบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสโครงการ ประเภท 2 / 003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกจังหวัดกาญจนบุรี เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในปี 2560 อำเภอท่าม่วงมีสถิติโรคไข้เลือกออกสูงเป็นอันดับ ๒ ของจังหวัดและตำบลวังขนายมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 1 คน ผลการการรณรงค์และการควบคุมป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง หากไม่มีมาตรการป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย อย่างต่อเนื่องและจริงจัง
ดังนั้นมาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค
ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียวดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การปรับพฤติกรรมชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อม การรณรงค์การระสานความร่วมมือกับโรงเรียนชุมชนสถานที่ราชการต่างๆการจัดหาสารฆ่าลูกน้ำการพ่นหมอกควันและสารเคมีการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำและสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด มุ่งเน้นในการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ในชุมชนของตนเองอย่างต่อเนื่องทุกวันศุกร์ ซึ่งจะส่งผลให้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลงและหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก(คน)
- ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เชิงรุก เรื่อง โรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในพื้นที่ พร้อมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์/กำจัดลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (4 ครั้ง/ปี)
- กิจกรรมเพาะพันธุ์ตะไคร้หอม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ชุมชนสามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
2. ค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำที่พบในชุมชนในเขตเมือง (HI) ไม่เกิน 0 และ CI ไม่เกิน 10 ทุกหมู่บ้าน
3. ชุมชน ประชาชน โรงเรียน วัด และทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก
4. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เชิงรุก เรื่อง โรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในพื้นที่ พร้อมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์/กำจัดลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (4 ครั้ง/ปี)
วันที่ 16 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.จัดประชุมคณะทำงานและเครือข่ายฯที่เกี่ยวข้องฯ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
2.จัดกิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน 4 ครั้ง/ปี พร้อมรณรงค์ให้ความรู้ความเข้าใจในการป้องกัน ควบคุมโรคฯ
3.จัดกิจกรรมการประเมินสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน โดยคณะทำงาน
4.การส่งเสริมและสนับสนุน การจัดทำนวัตกรรมของเด็กนักเรียนในโรงเรียนในการป้องกัน/ควบคุมโรคไข้เลือดออก
5.ลดการใช้ทรายอะเบทและพ่นหมอกควันในชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนใช้วิธีชีวภาพในการป้องกันและควบคุมโรค ด้วยการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ โดยการจัดตั้งธนาคารตะไคร้หอม เพื่อขยายพันธ์ตะไคร้หอม/แจกจ่ายตะไคร้หอมให้กับชุมชน ตลอดจนการนำตะไคร้หอมมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถนำไปใช้ในครัวเรือนได้
6.กิจกรรมการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน ในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในชุมชน ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ชุมชนสามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
2. ค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำที่พบในชุมชนในเขตเมือง (HI) ไม่เกิน 0 และ CI ไม่เกิน 10 ทุกหมู่บ้าน
3. ชุมชน ประชาชน โรงเรียน วัด และทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก
4. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
100
0
2. กิจกรรมเพาะพันธุ์ตะไคร้หอม
วันที่ 18 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
เพาะพันธุ์ตะไคร้หอม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีกล้าพันธ์ุตะไคร้หอม ให้ประชาชนนำไปปลูกที่บ้าน สำนักงาน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก(คน)
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก(คน)
5.00
2
ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก(คน) (2) ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เชิงรุก เรื่อง โรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในพื้นที่ พร้อมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์/กำจัดลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (4 ครั้ง/ปี) (2) กิจกรรมเพาะพันธุ์ตะไคร้หอม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย จังหวัด กาญจนบุรี
รหัสโครงการ ประเภท 2 / 003
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 4 บ้านหนองตาบ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย ”
ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 4 บ้านหนองตาบ่ง
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี
รหัสโครงการ ประเภท 2 / 003 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย จังหวัดกาญจนบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสโครงการ ประเภท 2 / 003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกจังหวัดกาญจนบุรี เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในปี 2560 อำเภอท่าม่วงมีสถิติโรคไข้เลือกออกสูงเป็นอันดับ ๒ ของจังหวัดและตำบลวังขนายมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 1 คน ผลการการรณรงค์และการควบคุมป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง หากไม่มีมาตรการป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย อย่างต่อเนื่องและจริงจัง ดังนั้นมาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียวดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การปรับพฤติกรรมชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อม การรณรงค์การระสานความร่วมมือกับโรงเรียนชุมชนสถานที่ราชการต่างๆการจัดหาสารฆ่าลูกน้ำการพ่นหมอกควันและสารเคมีการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำและสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด มุ่งเน้นในการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ในชุมชนของตนเองอย่างต่อเนื่องทุกวันศุกร์ ซึ่งจะส่งผลให้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลงและหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก(คน)
- ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เชิงรุก เรื่อง โรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในพื้นที่ พร้อมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์/กำจัดลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (4 ครั้ง/ปี)
- กิจกรรมเพาะพันธุ์ตะไคร้หอม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ชุมชนสามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. ค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำที่พบในชุมชนในเขตเมือง (HI) ไม่เกิน 0 และ CI ไม่เกิน 10 ทุกหมู่บ้าน 3. ชุมชน ประชาชน โรงเรียน วัด และทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก 4. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เชิงรุก เรื่อง โรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในพื้นที่ พร้อมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์/กำจัดลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (4 ครั้ง/ปี) |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.จัดประชุมคณะทำงานและเครือข่ายฯที่เกี่ยวข้องฯ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
2.จัดกิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน 4 ครั้ง/ปี พร้อมรณรงค์ให้ความรู้ความเข้าใจในการป้องกัน ควบคุมโรคฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ชุมชนสามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. ค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำที่พบในชุมชนในเขตเมือง (HI) ไม่เกิน 0 และ CI ไม่เกิน 10 ทุกหมู่บ้าน 3. ชุมชน ประชาชน โรงเรียน วัด และทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก 4. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
|
100 | 0 |
2. กิจกรรมเพาะพันธุ์ตะไคร้หอม |
||
วันที่ 18 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำเพาะพันธุ์ตะไคร้หอม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีกล้าพันธ์ุตะไคร้หอม ให้ประชาชนนำไปปลูกที่บ้าน สำนักงาน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก(คน) ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก(คน) |
5.00 |
|
||
2 | ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก |
60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก(คน) (2) ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เชิงรุก เรื่อง โรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในพื้นที่ พร้อมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์/กำจัดลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (4 ครั้ง/ปี) (2) กิจกรรมเพาะพันธุ์ตะไคร้หอม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกตำบลวังขนาย จังหวัด กาญจนบุรี
รหัสโครงการ ประเภท 2 / 003
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 4 บ้านหนองตาบ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......