โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า ”
ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 7 บ้านริมน้ำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า
ที่อยู่ ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี
รหัสโครงการ ประเภท 2 / 006 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า จังหวัดกาญจนบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสโครงการ ประเภท 2 / 006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันประเทศไทยมีสภาวการณ์ของจำนวนผู้สูงอายุและผู้พิการเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จากสถิติผู้สูงอายุและผู้พิการปี 2550 มีผู้สูงอายุและผู้พิการรวมทั้งหมด 5.3 ล้านคน ปี 2559มีจำนวน 10.2 ล้านคนและปี 2560 มีจำนวน 12.5 ล้านคน และคาดการณ์ว่าในปี 2583 จะเพิ่มเป็น 20.5 ล้านคนปี 2558 กระทรวงสาธารณสุขได้ทำการคัดกรองผู้สูงอายุและผู้พิการอายุต่ำกว่า 60 ปี จำนวน 6,394,022 ราย พบว่าผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ กลุ่มติดสังคมจำนวน 5 ล้านราย คิดเป็นร้อยละ 79 กลุ่มติดบ้านและติดเตียงรวมกัน จำนวน 1.3 ล้านราย คิดเป็นร้อยละ 21 ที่จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนบริการสาธารณสุขและดูแลจากภาครัฐอย่างใกล้ชิด
ตำบลวังขนายมีจำนวนผู้สูงอายุและผู้พิการ (จากการสำรวจ) ปี 2558 มีจำนวน 671 รายปี 2559 มีจำนวน 746 ราย และปี 2560 มีจำนวน 872 ราย ทำให้ทราบว่ากลุ่มวัยผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลวังขนายมีแนวโน้มและอัตราการเพิ่มขึ้นทุกปี ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างชุมชนโดยตรงทำให้ชุมชนขาดเสถียรภาพ ในการสร้างรายได้มวลรวมเนื่องมาจากการเกิดภาวะพึ่งพิงมากขึ้นรายได้ต่อหัวประชากรลดลง จากการคัดกรองผู้สูงอายุและผู้พิการอายุต่ำกว่า 60 ปีในปี 2560 จำนวน 650 รายพบว่าผู้สูงอายุติดสังคมมีจำนวน 461 รายคิดเป็นร้อยละ 70 กลุ่มติดบ้านและติดเตียง รวมกัน 189 รายคิดเป็นร้อยละ 30 ที่ต้องได้รับการเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างคลอบคลุมและดูแลอย่างใกล้ชิดทุกมิติเช่นการฟื้นฟู ส่งเสริม สมรรถภาพร่างกายทั้งด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม จึงมีความจำเป็นที่ต้องจัดบริการ ดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care: LTC) ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการมีคุณภาพชีวิตที่ดี และยังช่วยลดภาระให้ครอบครัวด้วย สำหรับผู้ป่วยที่พัฒนาการของการเจ็บป่วยจนถึงวาระสุดท้ายจำเป็นต้องจัดให้มีบริการผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Palliative Care : PC) เพื่อให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
ผู้สูงอายุและผู้พิการ ที่มีสภาวะติดบ้านติดเตียงจะได้รับการดูแลจากทีมสหวิชาชีพจากหน่วยบริการปฐมภูมิ
( รพ.สต.บ้านศาลเจ้าโพรงไม้) บริการดูแลด้านสุขภาพถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอตามปัญหาสุขภาพและสิทธิประโยชน์ที่ได้รับ โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ส่งผลให้ผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิงมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรีและเข้าถึงบริการทางด้านสาธารณสุขได้อย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม เป็นการสร้างสังคมแห่งการเอื้ออาทร อีกทั้งยังเป็นการสร้างความร่วมมือภาคส่วนต่างๆควบคู่ไปกับการพัฒนาทีมหมอครอบครัวและอาสาสมัครในชุมชนเพื่อให้ “สังคมไทยผู้สูงอายุ ผู้พิการ เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรควัณโรคได้รับคัดกรอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรณรงค์และค้นหาผู้มีภาวะซึมเศร้าเสี่ยงฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงฆ่าตัวตายได้รับการคัดกรองและค้นหาทุกราย
- ผู้มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงฆ่าตัวตายได้รับการส่งต่อได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและทันท่วงที
- ไม่พบอุบัติการณ์ฆ่าตัวตายสำเร็จรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมรณรงค์และค้นหาผู้มีภาวะซึมเศร้าเสี่ยงฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
วันที่ 6 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.ให้ความรู้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้า
2.คัดกรองผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้า
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ให้ความรู้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้า
2.ผู้ที่มีภาวะเสียงโรคซึมเศร้าตามเป้าหมายได้รับการคัดกรอง
200
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรควัณโรคได้รับคัดกรอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรอง
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรควัณโรคได้รับคัดกรอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์และค้นหาผู้มีภาวะซึมเศร้าเสี่ยงฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า จังหวัด กาญจนบุรี
รหัสโครงการ ประเภท 2 / 006
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 7 บ้านริมน้ำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า ”
ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 7 บ้านริมน้ำ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี
รหัสโครงการ ประเภท 2 / 006 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า จังหวัดกาญจนบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสโครงการ ประเภท 2 / 006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันประเทศไทยมีสภาวการณ์ของจำนวนผู้สูงอายุและผู้พิการเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จากสถิติผู้สูงอายุและผู้พิการปี 2550 มีผู้สูงอายุและผู้พิการรวมทั้งหมด 5.3 ล้านคน ปี 2559มีจำนวน 10.2 ล้านคนและปี 2560 มีจำนวน 12.5 ล้านคน และคาดการณ์ว่าในปี 2583 จะเพิ่มเป็น 20.5 ล้านคนปี 2558 กระทรวงสาธารณสุขได้ทำการคัดกรองผู้สูงอายุและผู้พิการอายุต่ำกว่า 60 ปี จำนวน 6,394,022 ราย พบว่าผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ กลุ่มติดสังคมจำนวน 5 ล้านราย คิดเป็นร้อยละ 79 กลุ่มติดบ้านและติดเตียงรวมกัน จำนวน 1.3 ล้านราย คิดเป็นร้อยละ 21 ที่จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนบริการสาธารณสุขและดูแลจากภาครัฐอย่างใกล้ชิด
ตำบลวังขนายมีจำนวนผู้สูงอายุและผู้พิการ (จากการสำรวจ) ปี 2558 มีจำนวน 671 รายปี 2559 มีจำนวน 746 ราย และปี 2560 มีจำนวน 872 ราย ทำให้ทราบว่ากลุ่มวัยผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลวังขนายมีแนวโน้มและอัตราการเพิ่มขึ้นทุกปี ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างชุมชนโดยตรงทำให้ชุมชนขาดเสถียรภาพ ในการสร้างรายได้มวลรวมเนื่องมาจากการเกิดภาวะพึ่งพิงมากขึ้นรายได้ต่อหัวประชากรลดลง จากการคัดกรองผู้สูงอายุและผู้พิการอายุต่ำกว่า 60 ปีในปี 2560 จำนวน 650 รายพบว่าผู้สูงอายุติดสังคมมีจำนวน 461 รายคิดเป็นร้อยละ 70 กลุ่มติดบ้านและติดเตียง รวมกัน 189 รายคิดเป็นร้อยละ 30 ที่ต้องได้รับการเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างคลอบคลุมและดูแลอย่างใกล้ชิดทุกมิติเช่นการฟื้นฟู ส่งเสริม สมรรถภาพร่างกายทั้งด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม จึงมีความจำเป็นที่ต้องจัดบริการ ดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care: LTC) ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการมีคุณภาพชีวิตที่ดี และยังช่วยลดภาระให้ครอบครัวด้วย สำหรับผู้ป่วยที่พัฒนาการของการเจ็บป่วยจนถึงวาระสุดท้ายจำเป็นต้องจัดให้มีบริการผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Palliative Care : PC) เพื่อให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
ผู้สูงอายุและผู้พิการ ที่มีสภาวะติดบ้านติดเตียงจะได้รับการดูแลจากทีมสหวิชาชีพจากหน่วยบริการปฐมภูมิ
( รพ.สต.บ้านศาลเจ้าโพรงไม้) บริการดูแลด้านสุขภาพถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอตามปัญหาสุขภาพและสิทธิประโยชน์ที่ได้รับ โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ส่งผลให้ผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิงมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรีและเข้าถึงบริการทางด้านสาธารณสุขได้อย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม เป็นการสร้างสังคมแห่งการเอื้ออาทร อีกทั้งยังเป็นการสร้างความร่วมมือภาคส่วนต่างๆควบคู่ไปกับการพัฒนาทีมหมอครอบครัวและอาสาสมัครในชุมชนเพื่อให้ “สังคมไทยผู้สูงอายุ ผู้พิการ เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรควัณโรคได้รับคัดกรอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรณรงค์และค้นหาผู้มีภาวะซึมเศร้าเสี่ยงฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงฆ่าตัวตายได้รับการคัดกรองและค้นหาทุกราย
- ผู้มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงฆ่าตัวตายได้รับการส่งต่อได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและทันท่วงที
- ไม่พบอุบัติการณ์ฆ่าตัวตายสำเร็จรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมรณรงค์และค้นหาผู้มีภาวะซึมเศร้าเสี่ยงฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้าน |
||
วันที่ 6 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.ให้ความรู้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้า 2.คัดกรองผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ให้ความรู้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้า 2.ผู้ที่มีภาวะเสียงโรคซึมเศร้าตามเป้าหมายได้รับการคัดกรอง
|
200 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรควัณโรคได้รับคัดกรอง ตัวชี้วัด : ประชาชนที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรอง |
60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรควัณโรคได้รับคัดกรอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์และค้นหาผู้มีภาวะซึมเศร้าเสี่ยงฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ อสม. วังขนายร่วมใจ ค้นหาโรคภาวะซึมเศร้า จังหวัด กาญจนบุรี
รหัสโครงการ ประเภท 2 / 006
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 7 บ้านริมน้ำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......