กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง


“ โครงการสร้างเครือข่ายตำบลปลอดบุหรี่ (Chalung Kids) ”

ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเครือข่ายตำบลปลอดบุหรี่ (Chalung Kids)

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5273-1-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเครือข่ายตำบลปลอดบุหรี่ (Chalung Kids) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเครือข่ายตำบลปลอดบุหรี่ (Chalung Kids)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเครือข่ายตำบลปลอดบุหรี่ (Chalung Kids) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5273-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันจะพบว่าประชาชนของประเทศไทย มีอัตราการบริโภคยาสูงของไทยยังไม่ลดจำนวนลงและกลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในบางกลุ่ม เช่น กลุ่มสตรี และเยาวชนนอกจากนี้ตามแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติยุทธศาสตร์ที่ 1, 2, 4 และ 5 ประกอบกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ซึ่งเป็นองค์กรหลักในการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการควบคุมยาสูบให้กับองค์กรอิสระไม่หวังผลกำไรเช่น เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย มีแนวนโยบายที่ชัดเจนในการพัฒนาการควบคุมยาสูบแบบบูรณาการ รวมถึงภาคีที่เกี่ยวข้องและพยาบาลที่ปฏิบัติงานในระดับชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลจังหวัดโรงพยาบาลอำเภอโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในบทบาทในการช่วยเลิกบุหรี่อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นและในชุมชนร่วมใจของสมาชิกในชุมชน และมีการดูแลเฝ้าระวัง ไม่ให้มีการละเมิดสูบบุหรี่ผิดที่ไม่มีการจำหน่ายยาสูบให้กับเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ไม่มีการแบ่งขายยาสูบ ไม่มีการจำหน่ายยาสูบผิดกฎหมาย และรู้เท่าทันกลยุทธ์ทางการตลาด ตามแผนการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่บริหารระดับประเทศแผนบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการที่มีความต้องการใช้บริการเด่นชัด และแผนการให้บริการสร้างเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการให้คำปรึกษาแนะนำ และการให้ความรู้ และสอดคล้องกับนโยบายการบริหารงบกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับกองทุน อปท. และกองทุนสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อสนับสนุนกิจกรรม 4 ประเภท ได้แก่ สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยชุมชนท้องถิ่นในกลุ่มแม่และเด็ก ผู้สูงอายุ ผู่้พิการ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อนามัยโรงเรียน สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ฟื้นฟู คัดกรองความเสี่ยงในชุมชนนอกจากนี้ยังสอดรับกับวาระแห่งชาติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นการรควบคุมแก้ไขการแพร่ระบาดยาเสพติดทีา่กำลังเป็นภัยคุกคามความมั่นคงของประเทศอยู่ในปัจจุบันนี้อีกทั้งยังสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด อำเภอ และตำบลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลอีกด้วย ตามแผนงานนี้กำหนดเลือกจังหวัดสงขลาดังนั้งเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานกิจกรรมโครงการดังกล่าวทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายตำบลปลอดบุหรี่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1.เพื่อสร้างเยาวชนเครือข่ายในการควบคุมยาสูบในตำบล
  2. ข้อ 2.เพื่อรณรงค์สร้างกระแสดูแลสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดประชุม คณะทำงานตำบลปลอดบุหรี่
  2. 2.จัดอบรมสนับสนุน เสริมศักยภาพ สมรรถนะที่จำเป็นให้กับแกนนำ
  3. 3.จัดกิจกรรมเดินรณรงค์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำเยาวชนในพื้นที่ตำบลฉลุงมีความรู้ในเรื่องโทษของบุหรี่2.เกิดเยาชนเครือข่ายในการดำเนินงานตำบลปลอดบุหรี่ 3.ประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องของบุหรี่จากการรณรงค์สร้างกระแสป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่4.มีคลินิกอดบุหรี่ในสถานบริการ5.เกิดสถานที่/ชุมชนปลอดบุหรี่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1.เพื่อสร้างเยาวชนเครือข่ายในการควบคุมยาสูบในตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนเยาวชนเครือข่ายภาคี จำนวนอย่างน้อย 1 เครือข่าย
0.00

 

2 ข้อ 2.เพื่อรณรงค์สร้างกระแสดูแลสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่
ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมรณรงค์สร้างกระแสดูแลสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ ในพื้นที่อย่างน้อย 1 ครั้ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อสร้างเยาวชนเครือข่ายในการควบคุมยาสูบในตำบล (2) ข้อ 2.เพื่อรณรงค์สร้างกระแสดูแลสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดประชุม คณะทำงานตำบลปลอดบุหรี่ (2) 2.จัดอบรมสนับสนุน เสริมศักยภาพ สมรรถนะที่จำเป็นให้กับแกนนำ (3) 3.จัดกิจกรรมเดินรณรงค์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเครือข่ายตำบลปลอดบุหรี่ (Chalung Kids) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5273-1-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด