กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว


“ โครงการจัดการขยะระดับครัวเรือน สู่ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดโรค ปลอดภัย ประจำปี 2561 ”

หมู่ที่ 4 บ้านไร่เหนือ

หัวหน้าโครงการ
นายพิเชษฐ์ เขียดนิล

ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะระดับครัวเรือน สู่ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดโรค ปลอดภัย ประจำปี 2561

ที่อยู่ หมู่ที่ 4 บ้านไร่เหนือ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61 - L3307 -2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มีนาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการขยะระดับครัวเรือน สู่ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดโรค ปลอดภัย ประจำปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 4 บ้านไร่เหนือ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะระดับครัวเรือน สู่ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดโรค ปลอดภัย ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการขยะระดับครัวเรือน สู่ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดโรค ปลอดภัย ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านไร่เหนือ รหัสโครงการ 61 - L3307 -2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มีนาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยในชุมชน หมู่ที่ ๔ บ้านไร่เหนือ ตำบลคลองทรายขาว ในปัจจุบัน อยู่ที่ประมาณวันละ ๖00 กิโลกรัม ถึงแม้บางบ้านจะนำมาใส่ถังขยะที่ทางเทศบาลวางไว้ให้ แต่ยังไม่รู้จักที่จะคัดแยก บางบ้านก็นำไปเททิ้งเรี้ยราดตามถนน แม่น้ำ ลำคลอง ที่สาธารณะต่างๆ ทำให้ขยะที่มีพิษ หรือสารพิษจากขยะนั้นได้แพร่กระจายลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ เป็นการทำลายสิ่งแวดล้อมโดยไม่รู้ตัว บางครั้งก็เผาทำลาย ทำให้เกิดควันลอยในอากาศเป็นการเพิ่มภาวะโลกร้อนอีกด้วย ซึ่งมูลฝอยเหล่านี้หากไม่กำจัดและมีการจัดการอย่างถูกวิธี นอกจากจะทำให้ชุมชนขาดความสะอาดเรียบร้อย จนเป็นที่น่ารังเกียจแล้ว ยังทำให้เกิดปัญหามลพิษต่อสภาพแวดล้อมอย่างมากมาย เช่น การปนเปื้อนของแหล่งน้ำและการปนเปื้อนของอากาศ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์และแพร่กระจายของเชื้อโรค ที่ก่อปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชน ทางชมรมคนรักษ์สุขภาพจึงได้มีแนวคิดการจัดการขยะในชุมชนทุกครัวเรือนอย่างเป็นระบบโดยได้จัดทำโครงการจัดการขยะระดับครัวเรือน สู่ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดโรค ปลอดภัย ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนกิจกรรมให้เกิดประโยชน์และแก้ปัญหาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนให้มีความรู้ มีความตระหนัก มีทัศนคติที่ดี ร่วมมือหรือมีส่วนร่วมในการจัดการขยะหรือคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ทั้งในระดับบ้านเรือนและชุมชน
  2. 2. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
  3. 3. เพื่อประกาศเชิดชูเกียรติครัวเรือนต้นแบบ ครัวเรือนสะอาด กำจัดขยะถูกต้อง อย่างต่อเนื่อง เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดฝึกอบรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ครัวเรือนเป้าหมาย
  2. จัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้าน และแกนนำเยาวชน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ และมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่
  2. อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
  3. ชุมชนมีความเข้มแข็งในการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนของตนเอง มีบ้านตัวอย่างเรื่องการคัดแยกขยะ ที่เอื้อต่อการมีสุขภาพอนามัยที่ดี
  4. ประชาชนเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง และเห็นความสำคัญในการจัดการที่พักอาศัยและสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชนเกิดนวัตกรรมชุมชน การทำแก๊สชีวภาพจากขยะใช้ในครัวเรือน อย่างน้อย ๑ ครอบครัว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้าน และแกนนำเยาวชน)

วันที่ 27 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้าน และแกนนำเยาวชน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้าน และแกนนำเยาวชน)รับรู้เเนวทางการทำงานตามโครงการ

 

15 0

2. จัดฝึกอบรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ครัวเรือนเป้าหมาย

วันที่ 29 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดฝึกอบรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ครัวเรือนเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีการจัดการขยะและการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. และการจัดการขยะและการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม กำหนดแนวทางในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนได้ ผลผลิต กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ครบทุกครัวเรือน ผลลัพธ์ :กลุ่มเป้าหมายสามารถจัดการขยะได้ถูกต้องและต่อเนื่อง

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าร่วมโครงการที่ตั้งไว้ 40 คน
-โดยจัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้าน และแกนนำเยาวชน) สร้างความเข้าใจและร่วมกำหนดวางแผนรูปแบบวิธีการการดำเนินงานโครงการ และการประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 วัน -การจัดฝึกอบรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ครัวเรือนเป้าหมายในการจัดการขยะและการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. การจัดการขยะ การปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม และกำหนดแนวทางในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนได้ จำนวน 1 วัน ผลผลิต กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ครบทุกครัวเรือน ผลลัพธ์ :กลุ่มเป้าหมายสามารถจัดการขยะได้ถูกต้องและต่อเนื่อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนให้มีความรู้ มีความตระหนัก มีทัศนคติที่ดี ร่วมมือหรือมีส่วนร่วมในการจัดการขยะหรือคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ทั้งในระดับบ้านเรือนและชุมชน
ตัวชี้วัด : ตัวแทนของครัวเรือนได้รับการอบรมอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐ และมีทัศนคติที่ดีขึ้นในการร่วมกันกำจัดขยะของครัวเรือน
1.00

 

2 2. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : โรคที่เกิดจากขยะมูลฝอยเป็นสาเหตุ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจาระร่วงโรคฉี่หนู ลดลง
1.00

 

3 3. เพื่อประกาศเชิดชูเกียรติครัวเรือนต้นแบบ ครัวเรือนสะอาด กำจัดขยะถูกต้อง อย่างต่อเนื่อง เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ชุมชน
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนได้รับประกาศเชิดชูเกียรติครัวเรือนต้นแบบอย่างน้อย ร้อยละ ๒๕
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนให้มีความรู้ มีความตระหนัก มีทัศนคติที่ดี ร่วมมือหรือมีส่วนร่วมในการจัดการขยะหรือคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ทั้งในระดับบ้านเรือนและชุมชน (2) 2. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (3) 3.  เพื่อประกาศเชิดชูเกียรติครัวเรือนต้นแบบ ครัวเรือนสะอาด  กำจัดขยะถูกต้อง อย่างต่อเนื่อง เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดฝึกอบรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ครัวเรือนเป้าหมาย  (2) จัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้าน และแกนนำเยาวชน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการขยะระดับครัวเรือน สู่ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดโรค ปลอดภัย ประจำปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61 - L3307 -2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิเชษฐ์ เขียดนิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด