กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง


“ โครงการขจัดสิ้นยุงก้นปล่อง ป้องกันภัยไข้มาลาเรีย ”

ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีหม๊ะ มะลี

ชื่อโครงการ โครงการขจัดสิ้นยุงก้นปล่อง ป้องกันภัยไข้มาลาเรีย

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4131-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขจัดสิ้นยุงก้นปล่อง ป้องกันภัยไข้มาลาเรีย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขจัดสิ้นยุงก้นปล่อง ป้องกันภัยไข้มาลาเรีย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขจัดสิ้นยุงก้นปล่อง ป้องกันภัยไข้มาลาเรีย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในประเทศไทย มาลาเรียเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขมาช้านาน รัฐบาลได้พยายามควบคุมกวาดล้างมาลาเรียมาตั้งแต่องค์การอนามัยโลกแนะนำ โดยการกำจัดยุงก้นปล่องซึ้งเป็นพาหะนำโรค และการรักษาโดยการให้ยาฆ่าเชื้อมาลาเรียแก่ผู้ป่วย แต่โรคมาลาเรียก็ยังปรากฏอย่างต่อเนื่องในพื้นที่เสี่ยงสูง โดยเฉพาะบริเวณชายป่า และป่าเขาตลอดแนวชายแดนของประเทศในภาพรวมปัญหาโรคมาลาเรียของประเทศไทยได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคุมโรค ได้พัฒนาแผนยุทธศาสตร์กำจัดโรคไข้มาลาเรียประเทศไทย พ.ศ. 2560-2569 มีวิสัยทัศน์ให้ประเทศไทยปลอดจากโรคไข้มาลาเรียภายในปี พ.ศ. 2567 โดยมี 4 ยุทธศาสตร์ 1) เร่งรัดกำจัดการแพร่เชื้อมาลาเรียในประเทศไทย 2) พัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรม มาตรการและรูปแบบที่เหมาะสม ในการกำจัดโรคไข้มาลาเรีย 3) สร้างความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ เพื่อขับเคลื่อนงานกำจัดโรคไข้มาลาเรีย 4) ส่งเสริมให้ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลตนเองจากโรคไข้มาลาเรีย ด้วย ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบสุขภาพ ปี พ.ศ. 2560 – 2564 คือ “ระบบสุขภาพยั่งยืน ประชาชนสุขภาพดีเจ้าหน้าที่มีความสุข” ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 เรื่องการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยมีเป้าประสงค์หลัก เพื่อประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค มีพฤติกรรมและดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองครอบครัวและชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ซึ่งกำหนดตัวชี้วัดอัตราป่วยไข้มาลาเรียไม่เกิน 300 ต่อแสนประชากร ประกอบกับโรคมาลาเรียยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญของโลก เนื่องจากมีประชากรป่วยและตายด้วยโรคมาลาเรียเป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังเป็นโรคติดต่อที่เสี่ยงต่อการแพร่กระจายของโรคอย่างรวดเร็ว และอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการควบคุม ป้องกันและดูแลอย่างดี จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีมาตรการการควบคุมและป้องกันที่ดี อำเภอเบตง มีสภาพเป็นป่าเขา อากาศร้อนชื้น ฝนตกตลอดทั้งปี จึงเหมาะต่อการระบาดของไข้มาลาเรียโดยเฉพาะพื้นที่อัยเยอร์เวง เป็นแหล่งรังโรคของไข้มาลาเรีย มีการระบาดซ้ำซากเป็นประจำทุกปี จากสถิติที่ผ่านมา พบว่า ปี 2555 – 2559 พบผู้ป่วยจำนวน 12 ราย 15 ราย 12 ราย 4 ราย และ 7 รายตามลำดับ จะเห็นได้ว่าจำนวนผู้ป่วยมาลาเรียยังคงขึ้น – ลง เพียงเล็กน้อยและไม่เกินตัวชี้วัดที่กำหนด แต่ก็ไม่ควรนิ่งเฉย เพราะปกติแล้วในเขตพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง โรคไข้มาลาเรียจะระบาดเป็นประจำทุกปี โดยเฉพาะในช่วงเดือน เมษายน – มิถุนายน ของทุกปี หากไม่มีการรณรงค์ป้องกัน และทำงานในเชิงรุกที่ดี ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อควบคุมและป้องกันโรคมาลาเรีย โดยมุ่งหวังให้จำนวนผู้ป่วยไข้มาลาเรียลดลง และอัตราป่วยไม่เกิน 300 ต่อแสนประชากร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียไม่เกิน 300 ต่อแสนประชากร
  2. 2. เพื่อพ่นสารเคมีตกค้างในเขตพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,224
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1) จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลงและอัตราป่วยไข้มาลาเรียไม่เกิน 300 ต่อแสนประชากร 2) ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่ระบาดได้รับการเจาะเลือดคัดกรองโรคมาลาเรีย 3) หลังคาเรือนที่อยู่พื้นที่เสี่ยงและพื้นที่ระบาดได้รับการพ่นสารเคมีตกค้าง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. พ่นสารเคมีตกค้าง

    วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หลังคาเรือนในบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อนได้รับการพ่นสารเคมีตกค้าง จำนวน 900 หลังคาเรือน จำนวนประชาชน 2255 คน

     

    2,255 2,255

    2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์

    วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยการลงพื้้นที่ให้ความรู้ และแจกโลชั่นทากันยุง แก่ประชาชนในพื้นที่ 1,315 หลังคาเรือน หรือครอบคลุมประชาชนประมาณ 2255 คน

     

    3,224 3,224

    3. เจาะเลือดค้นหาผู้ป่วย

    วันที่ 14 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชากรที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงได้รับการเจาะเลือดคัดกรองโรคมาลาเรีย จำนวน 900 คน พบผล Positive จำนวน 5 ราย และได้ดำเนินการรักษา รวมทั้งควบคุมการติดต่อของโรคในพื่้นที่บริเวณข้างเคียง

     

    900 900

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

          จากการดำเนินโครงการ ได้ผลดังนี้       - ประชากรที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงได้รับการเจาะเลือดคัดกรองโรคมาลาเรีย จำนวน 900 คน พบผล Positive จำนวน 5 ราย และได้ดำเนินการรักษา รวมทั้งควบคุมการติดต่อของโรคในพื่้นที่บริเวณข้างเคียง       - หลังคาเรือนในบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อนได้รับการพ่นสารเคมีตกค้าง จำนวน 900 หลังคาเรือน จำนวนประชาชน 2255 คน       - รณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยการลงพื้้นที่ให้ความรู้ และแจกโลชั่นทากันยุง แก่ประชาชนในพื้นที่ 1,315 หลังคาเรือน หรือครอบคลุมประชาชนประมาณ 2255 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียไม่เกิน 300 ต่อแสนประชากร
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อพ่นสารเคมีตกค้างในเขตพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3224
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,224
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียไม่เกิน 300 ต่อแสนประชากร  (2) 2. เพื่อพ่นสารเคมีตกค้างในเขตพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการขจัดสิ้นยุงก้นปล่อง ป้องกันภัยไข้มาลาเรีย จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4131-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสารีหม๊ะ มะลี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด