กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม


“ โครงการเฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนเบาหวานโดยชุมชนเพื่อคนปากแจ่ม ”

ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.ตำบลปากแจ่ม

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนเบาหวานโดยชุมชนเพื่อคนปากแจ่ม

ที่อยู่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1536-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนเบาหวานโดยชุมชนเพื่อคนปากแจ่ม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนเบาหวานโดยชุมชนเพื่อคนปากแจ่ม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนเบาหวานโดยชุมชนเพื่อคนปากแจ่ม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1536-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานเป็นหนึ่งในโรคเรื้อรังที่บั่นทอนคุณภาพชีวิตและคร่าชีวิตมนุษย์มากที่สุดโรคหนึ่งสำหรับประเทศไทยแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตด้วยเบาหวานปีละ ๒หมื่นคน จากสถิติตั้งแต่ ๑ม.ค. ๒๕๕๕ – ๓๑ธ.ค.๒๕๕๘จังหวัดตรัง พบผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน จำนวน ๒,๒๖๓ราย คิดเป็นอัตราตายร้อยละ๔.๔๙ต่อประชากรพันคนมีอัตราตายสูงสุดในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ร้อยละ๑.๓๙จำนวน ๗๐๑ราย (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง : ระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง,๒๕๕๙)แสดงว่าโรคเบาหวานมีแนวโน้มสูงมากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มมีความชุกค่อนข้างสูง และนำไปสู่การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เรื้อรังหรือรุนแรงได้ อาทิเช่น ภาวะหลอดเลือดตีบแข็งความดันโลหิตสูงจอประสาทตาเสื่อมไตวายโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือดร่วมกับเป็นแผลเรื้อรัง ติดเชื้อได้ง่าย ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความพิการหลายประการ ได้แก่ ตาบอด หรือ ถูกตัดขา ซึ่งปัญหาภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ สามารถส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม รวมทั้งปัญหาทางเศรษฐกิจของครอบครัวหากผู้ป่วย/ครอบครัวไม่มีความเข้าใจในโรคที่ผู้ป่วยกำลังเผชิญอยู่ ร่วมกับให้การดูแลผู้ป่วยไม่ถูกต้อง ปัญหาด้านต่างๆที่กล่าวมารวมถึงภาวะแทรกซ้อนก็อาจเกิดขึ้นได้ หากไม่สามารถควบคุมภาวะแทรกซ้อนให้อยู่ในภาวะปกติได้ ก็ส่งผลให้เกิดปัญหาที่เรื้อรังต่อไป
สำหรับตำบลปากแจ่มผลการดำเนินงานโครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวานในปี ๒๕๖๐ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่มมีผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนจำนวน ๘๐คน พบผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางตาจำนวน ๖รายคิดเป็นร้อยละ ๗.๕๐ และมีภาวะแทรกซ้อนทางเท้าจำนวน ๒ราย๒.๕๐ นอกจากนี้มีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมโรคไม่ได้ (ค่า HbA1c >๗ mg%)จำนวน ๕๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖๒.๕ ถึงแม้ว่าจะมีการเฝ้าระวังคัดกรองโรคอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบว่ามีประชาชนกลุ่มป่วยเบาหวานส่วนหนึ่งที่ยังมีพฤติกรรมไม่ถูกต้องและขาดความตระหนักในการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงตามมาดังนั้นการจัดทำแผนงานแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องก็จะส่งผลทำให้ปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มลดลง เป็นการลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตาเท้ารายใหม่ในผู้ป่วยเบาหวาน และการสนับสนุนพัฒนาองค์ความรู้ให้กับแกนนำ อสม.บูรณาการการมีร่วมกับแกนนำ องค์กรต่างๆ ในการเฝ้าระวังควบคุมโรคเบาหวานในชุมชน ดังนั้นทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่ม จึงได้จัดทำโครงการ “เฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนเบาหวาน โดยชุมชนเพื่อคนปากแจ่ม”ขึ้น เพื่อการสร้างเสริมกลุ่มแกนนำในการดูแลติดตามผู้ป่วยเบาหวานและการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนรุนแรง อีกทั้งส่งเสริมความตระหนักในกลุ่มป่วยให้สามารถดูแลสุขภาพตนเอง เฝ้าระวังควบคุมโรคแทรกซ้อนจากเบาหวานได้อย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    เกิดการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังควบคุมโรคเรื้อรังโดยชุมชนภายใต้ทีมคณะทำงานเฝ้าระวัง NCD BORD ระดับตำบล อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานลดลง
    ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลตนเองได้ และควบคุมโรคเบาหวานได้ดีเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ (ค่า HbA1C


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนเบาหวานโดยชุมชนเพื่อคนปากแจ่ม จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L1536-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.สต.ตำบลปากแจ่ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด