โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย ”
ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางประกายดาวสุขเสน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย
ที่อยู่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 1-61 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 1-61 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคนและต้องบริโภคกันอยู่ทุกวัน จะแน่ใจได้อย่างไรว่าอาหารที่เราบริโภคอยู่ทุกวันนี้มีความสะอาดปลอดภัย หากผู้บริโภคปรุงอาหารด้วยตนเองก็มั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยในระดับหนึ่ง แต่คนส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารนอกบ้านมารับประทาน ทำให้ไม่สามารถมั่นใจได้ว่า อาหารมีความปลอดภัยเพียงพอทำให้เกิดความเสี่ยงมากกว่าซึ่งในปัจจุบันมีพ่อค้าแม่ค้าที่เอาเปรียบผู้บริโภคโดยนำวัตถุดิบที่มีคุณภาพต่ำมาประกอบอาหาร หรือมีการเติมสารห้ามใช้ในอาหารบางอย่างลงไปเช่น บอแรกซ์ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ เป็นต้น รวมทั้งมีการปรุงอาหารอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่สะอาดเหมาะสม ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ อีกทั้ง หากผู้บริโภคขาดความรู้ ความเข้าใจ อย่างเพียงพอในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร ก็จะยิ่งทำให้ไม่สามารถเลือกซื้อ หรือเก็บรักษาอาหารได้ถูกต้อง และไม่สามารถดูแลปกป้องตนเองจากพิษภัยของอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้ ดังนั้น การให้ความรู้เบื้องต้นเรื่องความปลอดภัยของอาหาร จึงมีความสำคัญ
การพัฒนาศักยภาพ (Empowerment) การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปฏิบัติหน้าที่จำเป็นจะต้องใช้องค์ ความรู้ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มต่างๆในชุมชน ทั้งกลุ่มผู้บริโภค และกลุ่มผู้ประกอบการ กลุ่มอสม. และกลุ่มนักเรียน โดยในกลุ่มผู้บริโภค จะมุ่งเน้นความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบริโภค เช่น ความรู้ในการเลือก ซื้อ เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย การตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นของผลิตภัณฑ์ สิทธิผู้บริโภค ช่องทางการร้องเรียน ส่วนในกลุ่มผู้ประกอบการ จะมุ่งเน้นความรู้ในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์สินค้าของตนเอง แนวทางการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบันนังสาเรงจึงจัดทำโครงการเพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัยขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพในเรื่องการเลือกซื้อ เลือกบริโภคที่ถูกต้อง และขั้นตอนการตรวจสอบเฝ้าระวังตลอดจนการจัดการกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้แก่ผู้ประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อสม. และครู/นักเรียน อย.น้อย และเพิ่มเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และเครือข่าย อย.น้อยในโรงเรียน
- 2. เพื่อให้สถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย และสารปนเปื้อน 6 ชนิด และโรงเรียนในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสอบ/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ และผู้บริโภคด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย
- 2.1.ตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยในสถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ /สารปนเปื้อน 6 ชนิดในอาหารสด/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้ประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อสม. และครู/นักเรียน อย.น้อยมีความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัยมากขึ้น
2. สถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย และสารปนเปื้อน 6 ชนิด
3. โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสอบ/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพในเรื่องการเลือกซื้อ เลือกบริโภคที่ถูกต้อง และขั้นตอนการตรวจสอบเฝ้าระวังตลอดจนการจัดการกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้แก่ผู้ประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อสม. และครู/นักเรียน อย.น้อย และเพิ่มเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และเครือข่าย อย.น้อยในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อสม. และครู/นักเรียน อย.น้อยได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัยร้อยละ 100
100.00
2
2. เพื่อให้สถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย และสารปนเปื้อน 6 ชนิด และโรงเรียนในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสอบ/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของอาหารสด อาหารแปลรูปมีความปลอดภัย
2.ร้อยละ 100 ของสถานประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพในเรื่องการเลือกซื้อ เลือกบริโภคที่ถูกต้อง และขั้นตอนการตรวจสอบเฝ้าระวังตลอดจนการจัดการกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้แก่ผู้ประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อสม. และครู/นักเรียน อย.น้อย และเพิ่มเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และเครือข่าย อย.น้อยในโรงเรียน (2) 2. เพื่อให้สถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย และสารปนเปื้อน 6 ชนิด และโรงเรียนในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสอบ/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ และผู้บริโภคด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย (2) 2.1.ตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยในสถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ /สารปนเปื้อน 6 ชนิดในอาหารสด/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 1-61
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางประกายดาวสุขเสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย ”
ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางประกายดาวสุขเสน
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 1-61 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 1-61 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคนและต้องบริโภคกันอยู่ทุกวัน จะแน่ใจได้อย่างไรว่าอาหารที่เราบริโภคอยู่ทุกวันนี้มีความสะอาดปลอดภัย หากผู้บริโภคปรุงอาหารด้วยตนเองก็มั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยในระดับหนึ่ง แต่คนส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารนอกบ้านมารับประทาน ทำให้ไม่สามารถมั่นใจได้ว่า อาหารมีความปลอดภัยเพียงพอทำให้เกิดความเสี่ยงมากกว่าซึ่งในปัจจุบันมีพ่อค้าแม่ค้าที่เอาเปรียบผู้บริโภคโดยนำวัตถุดิบที่มีคุณภาพต่ำมาประกอบอาหาร หรือมีการเติมสารห้ามใช้ในอาหารบางอย่างลงไปเช่น บอแรกซ์ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ เป็นต้น รวมทั้งมีการปรุงอาหารอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่สะอาดเหมาะสม ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ อีกทั้ง หากผู้บริโภคขาดความรู้ ความเข้าใจ อย่างเพียงพอในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร ก็จะยิ่งทำให้ไม่สามารถเลือกซื้อ หรือเก็บรักษาอาหารได้ถูกต้อง และไม่สามารถดูแลปกป้องตนเองจากพิษภัยของอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้ ดังนั้น การให้ความรู้เบื้องต้นเรื่องความปลอดภัยของอาหาร จึงมีความสำคัญ
การพัฒนาศักยภาพ (Empowerment) การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปฏิบัติหน้าที่จำเป็นจะต้องใช้องค์ ความรู้ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มต่างๆในชุมชน ทั้งกลุ่มผู้บริโภค และกลุ่มผู้ประกอบการ กลุ่มอสม. และกลุ่มนักเรียน โดยในกลุ่มผู้บริโภค จะมุ่งเน้นความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบริโภค เช่น ความรู้ในการเลือก ซื้อ เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย การตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นของผลิตภัณฑ์ สิทธิผู้บริโภค ช่องทางการร้องเรียน ส่วนในกลุ่มผู้ประกอบการ จะมุ่งเน้นความรู้ในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์สินค้าของตนเอง แนวทางการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบันนังสาเรงจึงจัดทำโครงการเพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัยขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพในเรื่องการเลือกซื้อ เลือกบริโภคที่ถูกต้อง และขั้นตอนการตรวจสอบเฝ้าระวังตลอดจนการจัดการกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้แก่ผู้ประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อสม. และครู/นักเรียน อย.น้อย และเพิ่มเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และเครือข่าย อย.น้อยในโรงเรียน
- 2. เพื่อให้สถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย และสารปนเปื้อน 6 ชนิด และโรงเรียนในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสอบ/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ และผู้บริโภคด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย
- 2.1.ตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยในสถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ /สารปนเปื้อน 6 ชนิดในอาหารสด/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 160 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้ประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อสม. และครู/นักเรียน อย.น้อยมีความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัยมากขึ้น 2. สถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย และสารปนเปื้อน 6 ชนิด 3. โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสอบ/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพในเรื่องการเลือกซื้อ เลือกบริโภคที่ถูกต้อง และขั้นตอนการตรวจสอบเฝ้าระวังตลอดจนการจัดการกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้แก่ผู้ประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อสม. และครู/นักเรียน อย.น้อย และเพิ่มเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และเครือข่าย อย.น้อยในโรงเรียน ตัวชี้วัด : 1. ผู้ประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อสม. และครู/นักเรียน อย.น้อยได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัยร้อยละ 100 |
100.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้สถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย และสารปนเปื้อน 6 ชนิด และโรงเรียนในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสอบ/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของอาหารสด อาหารแปลรูปมีความปลอดภัย 2.ร้อยละ 100 ของสถานประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 160 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพในเรื่องการเลือกซื้อ เลือกบริโภคที่ถูกต้อง และขั้นตอนการตรวจสอบเฝ้าระวังตลอดจนการจัดการกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้แก่ผู้ประกอบการและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อสม. และครู/นักเรียน อย.น้อย และเพิ่มเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และเครือข่าย อย.น้อยในโรงเรียน (2) 2. เพื่อให้สถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย และสารปนเปื้อน 6 ชนิด และโรงเรียนในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสอบ/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ และผู้บริโภคด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย (2) 2.1.ตรวจเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยในสถานประกอบการ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ /สารปนเปื้อน 6 ชนิดในอาหารสด/ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และอย.น้อยในโรงเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 1-61
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางประกายดาวสุขเสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......