กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าตำบลท่าบอน ปี 2561 ”
ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลระโนด




ชื่อโครงการ โครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าตำบลท่าบอน ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 เมษายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าตำบลท่าบอน ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าตำบลท่าบอน ปี 2561



บทคัดย่อ

โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรง เมื่อเป็นโรคแล้วไม่สามารถที่จะรักษาให้หายได้ ผู้ป่วยที่เป็นโรคจะต้องตายทุกคน ซึ่งโรคนี้จะมีพาหะที่นำโรคคือสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น สุนัข แมว หนู เป็นต้น เมื่อคนไปสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรคหรือถูกน้ำลายสัตว์ที่เป็นโรคก็จะทำให้เชื้อโรคนั้นแพร่ติดต่อมาสู่คนได้ และสัตว์ที่เป็นโรคก็ยังสามารถที่ติดต่อเชื้อโรคไปยังสัตว์ปกติที่ไม่เป็นโรคได้ โรคพิษสุนัขบ้ามักจะพบในช่วงฤดูร้อน คือ ตั้งแต่เดือน มกราคม – มิถุนายน. ของทุกปี โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่สามารถควบคุมป้องกันได้แต่ไม่สามารถรักษาได้เมื่อมีอาการของโรค การป้องกันที่ดี คือ การระวังไม่ให้ถูกสัตว์กัด หรือถูกน้ำลายของสัตว์ รวมทั้งการพาสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ถ้าสัตว์ถูกกัดต้องรีบทำความสะอาดบาดแผลและไปพบแพทย์เพื่อทำการฉีดวัคซีนทันที ด้วยปณิธาน สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในการดูแลทุกข์สุขของพสกนิกรไทย รวมถึงสรรพชีวิตภายใต้ร่มพระบารมีให้มีความผาสุก เมื่อครั้งเสด็จทอดพระเนตรการดำเนินงานของศูนย์ดูแลสุนัขจรจัดของกองทัพเรือ ณ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เมื่อ พ.ศ. 2559 ทรงมีพระกระแสรับสั่งว่า “ทรงห่วงใยโรคพิษสุนัขบ้าที่เป็นปัญหาสำคัญของชาติ” และมีพระประสงค์ให้โรคพิษสุนัขบ้าหมดไปจากประเทศไทย ตามโครงการ “สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า” ตามวาระแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2562 เนื่องจากในปีที่ผ่านมาโรงพยาบาลระโนด ได้มีผู้มารับบริการที่ถูกสัตว์ที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัดเป็นจำนวนมาก จำนวนผู้ป่วย ปีงบประมาณ 2560 มีผู้มาฉีดวัคซีน ทั้งหมก 289 ราย  คิดเป็นเงิน 188,650 บาท  ผู้ป่วยที่มารับบริการมาที่ที่สุด  ได้แก่ตำบล ระโนด รองลงมาตำบลท่าบอน  เพื่อสนองพระราชปณิธานของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี จึงได้จัดทำ โครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าตำบลท่าบอน ปี 2561

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ
  2. ประชาชนเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อสัมผัสโรค(ถูกสัตว์กัด)
  3. ประชาชนมีความตื่นตัวและกระตุ้นให้มีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์มาตรการการให้บริการรับวัคซีนป้องกันโรคพิษสนุขบ้า ณ สถานที่ รพ.สต.ท่าบอน คลินิกใกล้ใจ และห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลระโนด
  2. กิจกรรมการส่งเสริมความรู้และทักษะแก่แกนนำประชาชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้อง 2.ประชาชนเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อสัมผัสโรค(ถูกสัตว์กัด) 3.ปริมาณผู้ป่วยที่ถูกสัตว์กัดหรือสัมผัสโรคลดลง
4.ลดค่าใช้จ่ายด้านวัคซีนให้กับโรงพยาบาล 5.ลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับประชาชนที่ถูกสัตว์กัดหรือสัมผัสโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการส่งเสริมความรู้และทักษะแก่แกนนำประชาชน

วันที่ 1 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมให้อบรม ให้ความรู้ สาธิต ให้แกนนำประชาชน จำนวน 10 วัน ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ 1-10 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จำนวน 600 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ
  2. แกนนำประชาชนเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อสัมผัสโรค(ถูกสัตว์กัด)
  3. แกนนำประชาชนมีความตื่นตัวและกระตุ้นให้มีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว  และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม  ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าใน 10 หมู่บ้านของตำบลท่าบอน ปี 2561 จำนวน 600 คน

 

600 0

2. ประชาสัมพันธ์มาตรการการให้บริการรับวัคซีนป้องกันโรคพิษสนุขบ้า ณ สถานที่ รพ.สต.ท่าบอน คลินิกใกล้ใจ และห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลระโนด

วันที่ 28 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์มาตรการการให้บริการรับวัคซีนป้องกันโรคพิษสนุขบ้า ณ สถานที่ รพ.สต.ท่าบอน คลินิกใกล้ใจ และห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลระโนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาสัมพันธ์มาตรการการให้บริการรับวัคซีนป้องกันโรคพิษสนุขบ้า ในหมู่บ้านทั้ง 10 หมู่บ้าน
  2. ประชาสัมพันธ์มาตรการการให้บริการรับวัคซีนป้องกันโรคพิษสนุขบ้า ณ สถานที่ รพ.สต.ท่าบอน คลินิกใกล้ใจ และห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลระโนด 

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน ตารางที่ 1แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าตำบลระโนด ปี 2561ในชุมชน 7 หมู่บ้าน หมู่บ้าน เป้าหมาย(คน) ผู้เข้าร่วมโครงการ (คน) คิดเป็นร้อยละ หมู่ 1 - 10  600        600          100 รวม      600        600          100

จากตารางที่ 1 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าใน 10 หมู่บ้านของตำบลท่าบอน ปี 2561 โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 600 คน ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 600 คน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยได้รับความร่วมมืออย่างดีจากผู้นำชุมชน ประชาชน ในการเข้าร่วมโครงการครั้งนี้

ตารางที่ 2แสดงจำนวนร้อยละของแบบสอบถามสำรวจความคิดเห็นประชาชน เรื่อง : โรคพิษสุนัขบ้า จากผู้เข้าร่วมโครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าตำบลระโนด ปี 2561ในชุมชน 10 หมู่บ้าน

จำนวนแบบสอบถาม (ข้อ) ก่อนให้ความรู้ (ร้อยละ) หลังให้ความรู้ (ร้อยละ) 15                    65.66        81.70

จากตารางที่ 2จำนวนร้อยละของแบบสอบถามสำรวจความคิดเห็นประชาชน เรื่อง : โรคพิษสุนัขบ้า จากผู้เข้าร่วมโครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าตำบลท่าบอน    ปี 2561 ในชุมชน 10 หมู่บ้าน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 600 คน ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทำแบบทดสอบก่อนให้ความรู้ได้ร้อยละ 65.66 ส่วนการทำหลังการให้ความรู้ได้ร้อยละ 81.70 แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 7.40


2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 แกนนำประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ 2.2 แกนนำประชาชนเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อสัมผัสโรค(ถูกสัตว์กัด)

3.จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 3.1 ผู้เข้าร่วมโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าใน 10 หมู่บ้านของตำบลท่าบอน ปี 2561 จำนวน 600 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
80.00 81.70

ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทำแบบทดสอบก่อนให้ความรู้ได้ร้อยละ 65.66 ส่วนการทำหลังการให้ความรู้ได้ร้อยละ 81.70 แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 7.40

2 ประชาชนเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อสัมผัสโรค(ถูกสัตว์กัด)
ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชนขึ้นได้ตลอดปีงบประมาณ
20.00 20.00

 

3 ประชาชนมีความตื่นตัวและกระตุ้นให้มีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการนำสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเพิ่มขึ้น
50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600 600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600 600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรง เมื่อเป็นโรคแล้วไม่สามารถที่จะรักษาให้หายได้ ผู้ป่วยที่เป็นโรคจะต้องตายทุกคน ซึ่งโรคนี้จะมีพาหะที่นำโรคคือสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น สุนัข แมว หนู เป็นต้น เมื่อคนไปสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรคหรือถูกน้ำลายสัตว์ที่เป็นโรคก็จะทำให้เชื้อโรคนั้นแพร่ติดต่อมาสู่คนได้ และสัตว์ที่เป็นโรคก็ยังสามารถที่ติดต่อเชื้อโรคไปยังสัตว์ปกติที่ไม่เป็นโรคได้ โรคพิษสุนัขบ้ามักจะพบในช่วงฤดูร้อน คือ ตั้งแต่เดือน มกราคม – มิถุนายน. ของทุกปี โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่สามารถควบคุมป้องกันได้แต่ไม่สามารถรักษาได้เมื่อมีอาการของโรค การป้องกันที่ดี คือ การระวังไม่ให้ถูกสัตว์กัด หรือถูกน้ำลายของสัตว์ รวมทั้งการพาสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ถ้าสัตว์ถูกกัดต้องรีบทำความสะอาดบาดแผลและไปพบแพทย์เพื่อทำการฉีดวัคซีนทันที ด้วยปณิธาน สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในการดูแลทุกข์สุขของพสกนิกรไทย รวมถึงสรรพชีวิตภายใต้ร่มพระบารมีให้มีความผาสุก เมื่อครั้งเสด็จทอดพระเนตรการดำเนินงานของศูนย์ดูแลสุนัขจรจัดของกองทัพเรือ ณ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เมื่อ พ.ศ. 2559 ทรงมีพระกระแสรับสั่งว่า “ทรงห่วงใยโรคพิษสุนัขบ้าที่เป็นปัญหาสำคัญของชาติ” และมีพระประสงค์ให้โรคพิษสุนัขบ้าหมดไปจากประเทศไทย ตามโครงการ “สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า” ตามวาระแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2562 เนื่องจากในปีที่ผ่านมาโรงพยาบาลระโนด ได้มีผู้มารับบริการที่ถูกสัตว์ที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัดเป็นจำนวนมาก จำนวนผู้ป่วย ปีงบประมาณ 2560 มีผู้มาฉีดวัคซีน ทั้งหมก 289 ราย  คิดเป็นเงิน 188,650 บาท  ผู้ป่วยที่มารับบริการมาที่ที่สุด  ได้แก่ตำบล ระโนด รองลงมาตำบลท่าบอน  เพื่อสนองพระราชปณิธานของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี จึงได้จัดทำ โครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าตำบลท่าบอน ปี 2561

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย ร่วมรณรงค์ป้องกันภัยโรคพิษสุนัขบ้าตำบลท่าบอน ปี 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลระโนด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด