กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหม่อม


“ โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในคลินิค ”

ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุทิน พรหมทอง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในคลินิค

ที่อยู่ ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5207-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในคลินิค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหม่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในคลินิค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในคลินิค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5207-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหม่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพสังคมปัจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตความเป้นอยู่เปลี่ยนสภาพจากเดิม ทำให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง อันนำไปสู่ ระบบการทำงานต่างๆ ของร่างกายเริ่มจะเสื่อมโทรมลง และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเรื้อรัง Metabolic ได้แก่ โรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหลอดเลือดหัวใจ ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทุกข์ทรมาณ และทำให้เกิดความสูญเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต ข้อมูลทรงระบาดวิทยา พบว่าจำนวนผู้ป่วยโรคคไม่ติดต่อเรื้อรังทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย คือ เพิ่มขึ้นจาก 15 ล้านคนในปี ค.ศ. 1995 เป็น 151 ล้านคน ในปี ค.ศ. 2000 และคาดว่าจะเป็น 300 ล้านคน ในปี ค.ศ. 2025 (King และคณะ) ความชุกของโรคเบาหวานในประชากรทุกอายุทั่วโลก พบว่าความชุกในปี ค.ศ. 2000 เท่ากับ 2.8 % และจะเป็น 4.4 % ในปี ค.ศ. 2030 (Wild และคณะ) ขณะที่สถานการณ์ในประเทศไทยค.ศ. 1996-1997 พบว่าอุตราความชุก เท่ากับ 4.4 % การวิจัยซึ่งเก็บข้อมูลจากทุกภาคของประเทศ เมื่อปี ค.ศ.2000 พบอัตราความชุกของโรคเบาหวานในประะชากรที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป เท่ากับ 9.6 % หรือคิดเป็นจำนวน 2.4 ล้้านคนน ในจำนวนนี้มีผู้ที่รู้ตัวว่าเป็นเบาหหวานเพียงครึ่งเดียว (4.8%) อีกครึ่งหนึ่งที่ไม่รู้ตัวว่าเป็นเบาหวานมาก่อน อัตราความชุกของดรคเบาหวานในเมืองสูงกว่าชนบท (National Health Interview and Examination Survey) สถานการณ์ความชุกของโรคเบาหวานของศูนย์สุขภาพชุมชนทรายมูลปี 2008 เท่ากับ 3.0 % ในปี ค.ศ. 2009 เท่ากับดแลฌรคไม่ติดต่อเรืื้อรังงนั้นไม่ได้้จำกัดอยู่เฉพาะโดยแพทย์เท่านั้นแต่ขึ้นอยู่กับการดูแลจนเเองของผู้ป่วยและการตรวจป้้องกันภาวะแทรกซ้อน นอกจากยังควรมีการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านเพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาของการดูแลตนเองของผู้ป่วยและการตรวจป้องกันภาวะแทรกซ้อน นอกจากยัังควรมีการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านเพืื่อจะได้ทราบถึงปัญหาของการดูแลตนเองและร่วมหารือ และแนะนำการแก้ไขปัญหาสุขภาพกับผูู้ป่วยแต่ละรายปัจจุบันผู้ป่วยที่มารัับบริิการดูแลรักษาโรคเรื้อรังดังงกล่าวมีเป็นจำนวนมากและมากขึ้นเรื่อยๆ แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ก็ยังไม่ได้รัับบริการดูแลภาวะแทรกซ้อนได้อย่างครบถ้วน และการรักษาส่วนใหญ่ยังเน้นโรงพยาบาลเป็นศูุนย์กลาง ทำให้ไม่เกิดความยั่งยืนในระบบดูแลสุุขภาพ ผู้ป่วยและครอบครัวมีศักยภาพในการดูแลตนเองน้อย ทำให้ผุ้ป่วยส่วนใหญ่ต้องพึ่งแพทย์ และทีมงานเป็นหลัก แต่ในความเป็นจริงการที่สามารถให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยได้ตระหนักในการดุูแลตนเอง มีความรู้ สร้้างทัศนคติจะสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และปฏิบััติตัวให้ห่างจากการเกิดโรคแลภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเพื่อลดงบประมาณในการรักษาผู้ป่วยได้เป็นจำนวนมาก

จากข้อมูลผู้ป่วยเบาหวานในตำบลนาหม่อมมี 289 ราย ควบคุุมน้ำตาลในเลือดได้ 35 รายคิดเป็นร้อยละ 9 และผู้ป่วยความดันจำนวน 1,062 ราย ควบคุมความดันโลหิตได้ 105 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.89

ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุุขภาพตำบลนามม่อมจึงเห็นความสำคัญในการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่เริ่มต้นท่ี่เป็นโรคร่วมกับการป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อนแก่ผู้ป่วยจึงได้จัดทำโครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผูู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูในคลินิกขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้้และมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง ร่วมรับรู้แก้ไขปัญหาร่วมกัน ในเรื่องการปรัับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆให้ผู้ป่วยเกิิดความตระหนักในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและมีความมต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมความรู้และความตระหนักให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยโรคเบาหวานมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
  2. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคแทรกซ้อน การดูแลตนเองและความตระหนักเกี่ยวกับโรค ตามหลัก 3อ. 2ส. ในผู้ป่วยเบาหวานความดันในคลินิกจำนวน 95 คน แบ่งเป็น 2 รุ่น ๆ ละ 50,45 คน
  2. จัดกิจกรรมเจาะเลือดในผู้ป่วยจำนวน 95 รายเพื่อติดตามภาวะแทรกซ้อน (ผู้ป่วยต้องงดน้ำ งดอาหารก่อนเจาะมา 10-12 ชม.)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มผู้ป่วยมีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องในเรืื่องพฤติกรรมสุขภาพเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหาร ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีีสุขภาพดีีและนำไปสู่กามมีคุุณภาพชีวิตที่ดีไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมความรู้และความตระหนักให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยโรคเบาหวานมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยในคลินิกไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
0.00

 

2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยในคลินิกได้รับการเฝ้าระวังติดตาม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมความรู้และความตระหนักให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยโรคเบาหวานมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค (2) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคแทรกซ้อน การดูแลตนเองและความตระหนักเกี่ยวกับโรค ตามหลัก 3อ. 2ส. ในผู้ป่วยเบาหวานความดันในคลินิกจำนวน 95 คน แบ่งเป็น 2 รุ่น ๆ ละ 50,45 คน (2) จัดกิจกรรมเจาะเลือดในผู้ป่วยจำนวน 95 รายเพื่อติดตามภาวะแทรกซ้อน (ผู้ป่วยต้องงดน้ำ งดอาหารก่อนเจาะมา 10-12 ชม.)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในคลินิค จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5207-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุทิน พรหมทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด