กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ ปลอดลูกน้ำ ปลอดภัย ปลอดไข้เลือดออก ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาววรรณี ยกฉวี

ชื่อโครงการ ปลอดลูกน้ำ ปลอดภัย ปลอดไข้เลือดออก

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-02-010 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ปลอดลูกน้ำ ปลอดภัย ปลอดไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปลอดลูกน้ำ ปลอดภัย ปลอดไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " ปลอดลูกน้ำ ปลอดภัย ปลอดไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561-L7572-02-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันไข้เลือดออกกำลังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขและการแพทย์ของประเทศไทย เพราะแต่ละปีมีผู้ป่วยจากทุกภาคเป็นจำนวนมากส่วนใหญ่เป็นเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี และโรคนี้มักระบาดมากในฤดูฝนเพราะมียุงลายชุกชุม สาเหตุ เกิดจากเชื้อไข้เลือดออกเด็งกีซึ่งเป็นไวรัสชนิดหนึ่ง มียุงลายเป็นพาหะนำโรค กล่าวคือ ยุงลายจะกัดคนที่เป็นโรคไข้เลือดออกก่อนแล้วจึงไปกัดคนที่อยู่ใกล้เคียงก็จะเป็นการแพร่เชื้อให้คนอื่นๆ ต่อไป โรคไข้เลือดออก มักติดต่อจากคนไปสู่คน ซึ่งมียุงลายเป็นตัวพาหะที่สำคัญ (Aedes aegypt) โดยยุงตัวเมียจะกัดและดูดเลือดของผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสเดงกี จากนั้นเชื้อจะเข้าไปฟักตัวและเพิ่มจำนวนในตัวยุงลาย ทำให้มีเชื้อไวรัสอยู่ในตัวของยุงตลอดระยะเวลาของมันประมาณ 1 - 2 เดือน แล้วถ่ายทอดเชื้อไปสู่คนที่ถูกกัดได้ ยุงลายเป็นยุงที่อาศัยอยู่ในบริเวณบ้าน มักออกกัดเวลากลางวัน มีแหล่งเพาะพันธุ์ คือ น้ำนิ่งที่ขังอยู่ในภาชนะเก็บน้ำต่างๆ อาทิ โอ่ง แจกันดอกไม้ ถ้วยรองขาตู้ จาน ชาม กระป๋อง หม้อ ยางรถยนต์ หรือกระถาง เป็นต้น ซึ่งโรคไข้เลือดออก พบโดยมากในฤดูฝน เนื่องจากในฤดูนี้เด็กๆ มักจะอยู่บ้านมากกว่าฤดูอื่นๆ อีกทั้งยุงลายยังมีการแพร่พันธุ์มากในฤดูฝน
จากสถิติ 3 ปีย้อนหลัง พบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของชุมชนควนปรง ในปี 2558 มีผู้ป่วย 1 ราย ปี 2559 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 2 รายปี 2560 พบผู้ป่วยจำนวน 1 ราย และชุมชนบ้านพระยาช่วย ในปี 2559 มีผู้ป่วย 1 ราย ซึ่งสองชุมชนนี้มีพื้นที่ติดกัน จะเห็นว่าในชุมชนยังมีผู้ป่วยป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้น ชุมชนบ้านควนปรงและชุมชนบ้านพระยาช่วย ได้ร่วมกันได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเตรียมการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่และป้องกันสาเหตุการเกิดโรคต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
  2. ข้อที่ 2 เพื่อเน้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก
  3. ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  4. ข้อที่ 4 เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน ซึ่งเป็นแหละเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมแกนนำชุมชน และ อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน
  2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก/เดินรณรงค์ แจกแผ่นพับและทรายอะเบทในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง 2 ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ 3.ประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องไข้เลือดออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมแกนนำชุมชน และ อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน

วันที่ 3 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตามเอกสารส่วนที่ 3

 

25 0

2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก/เดินรณรงค์ แจกแผ่นพับและทรายอะเบทในชุมชน

วันที่ 3 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตามเอกสารส่วนที่3

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index≤10)
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อเน้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนชนลดลง ≥50 %
0.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน ซึ่งเป็นแหละเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน (2) ข้อที่ 2 เพื่อเน้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก (3) ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน (4) ข้อที่ 4 เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน ซึ่งเป็นแหละเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมแกนนำชุมชน และ อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก/เดินรณรงค์ แจกแผ่นพับและทรายอะเบทในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปลอดลูกน้ำ ปลอดภัย ปลอดไข้เลือดออก จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-02-010

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรรณี ยกฉวี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด