โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561 ”
ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลปุลากง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-3039-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-3039-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,030.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ส่งผลให้สภาพสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไป ขนาดของครอบครัวมีขนาดเล็กลง เป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น บิดา-มารดาต้องออกไปทำงานมากขึ้น ทำให้ขาดผู้ดูแลเด็ก เด็กบางรายต้องอาศัยอยู่กับตายาย นอกจากนั้นแล้ว สภาพสังคมปัจจุบันผู้หญิงเมื่อแต่งงานมีครอบครัว ผู้หญิงได้เข้ามามีบทบาทในการทำงานมากขึ้น ไม่ว่างานในบ้านและทำงานนอกบ้าน ควบคู่กับการดูแลครอบครัวไปด้วย ทำให้ขาดการดูแลเอาใจใส่ตัวเอง ยิ่งถ้าเป็นช่วงที่มีครรภ์ บางครั้งลักษณะของงานที่ทำบางอย่างและการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ที่ไม่ถูกต้อง อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ได้ อีกทั้งปัจจุบัน พบว่า ทารกหลังคลอดมักถูกมารดาทิ้งให้อยู่ในความดูแลของญาติหรือผู้สูงอายุในบ้านส่งผลให้เด็กเกิดปัญหาภาวะสุขภาพต่างๆ เช่น ภาวะทุพโภชนาการ น้ำหนักน้อย เด็กผอมขาดการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (ขาดฉีดวัคซีน) ฟันพุก่อนวัย รวมถึงปัญหาการศึกษาของเด็ก ซึ่งอาจจะส่งผลถึงอนาคตของเด็กด้วย
จากการวิเคราะห์สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุลากง และตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ย้อนหลัง 5 ปี (ตั้งแต่ปี 2556-2560) พบว่า ปัญหาที่ยังพบเจอได้ในทุกๆปี คือ การฝากครรภ์ล่าช้า (ก่อน 3 เดือน/Late ANC) หญิงตั้งครรภ์มีอายุน้อยกว่า 20 ปี(Teenagnancy) ภาวะซีดขณะตั้งครรภ์(Anemia)ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม (Low birth weight)เด็กอายุ 6 เดือน มีภาวะโลหิตจาง มากกว่าร้อยละ 50 ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์มีเด็กผอม และเตี้ย (Malnutrition) จำนวนไม่น้อย ซึ่งสาเหตุของปัญหาดังกล่าว มาจากการดูแลตัวเองของหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ตอนท้อง การขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนา่การที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ ผู้ปกครองไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีการพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลการสำรวจ IQ (รายงานระดับจังหวัด) เด็กประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่า IQ เฉลี่ยแล้วต่ำของประเทศและเรื่องของวัคซีนพบว่า ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนต่ำเกือบทุกตัว สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการรับวัคซีนที่ล่าช้า ไม่เห็นประโยชน์ของวัคซีน และเกิดอาการข้างเคียงจากการได้รับวัคซีน อีกทั้งยังพบว่า เด็ก 0-5 ปีมีปัญหาฟันผุเยอะมาก เนื่องจากมีพฤติกรรมไม่แปรงฟันและการดูแลช่องปากที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งแนวทางการดูแลและป้องกันปัญหาดังกล่าว คือ ต้องสร้างความตระหนักในกลุ่มผู้ปกครอง ต้องให้การดูแลที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพเสริมสร้างทักษะการดูแลหลังคลอด ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ส่งเสริมการอบรมเลี้ยงดูที่ตอบสนองความต้องการของเด็กทุกด้านตามวัย และการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน และเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เข้มแข็ง
ด้วยเหตุนี้ ทางทีมสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุลากงและทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว และตระหนักถึงคววามสำคัญของการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน และเครือข่ายที่ดี เข้มแข็งการพัฒนาคุณภาพแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพ จึงได้จัดทำโครงการ "เด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561 "เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และการพัฒนาเด็กวัย 0-5 ปี พร้อมส่งเสริมในเรื่องการ กิน กอด เล่น เล่า เฝ้าระวังสุขภาพช่องปากและฟัน และเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้แก่เด็ก เพื่อสร้างเด็กปุลากงดี 10อย่าง เด็กมีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี เหมาะสตามวัย เป็นพลเมืองที่สร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมในอนาคตและยังเป็นการสร้างสายใยรักความผูกพันของครอบครัวอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และสามี หรือญาติมีความรู้ความเข้าใจดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนครอบครัวมีความรู้และมีบทบาทสำคัญในการร่วมมือให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด
- 2.2 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขี้น ไม่ผุก่อนวัย
- 2.3 เพื่อส่งเสริมให้เมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก
- 2.4 เพื่อสร้างกระแสสังคมให้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ครอบครัว ชุมชน และเครือข่ายองค์กรทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จ มีคุณภาพและยั่งยืน รวมทั้งหญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลในระยะการตั้งครรภ์จนถึงระยะหลังคลอดอย่างมีคุณภาพและในรายที่มีความเสี่ยงได้รับการส่งต่อไปยังสถานบริการของรัฐตามมาตรฐานการส่งต่อ ตลอดจนส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ได้คลอดกับสถานพยาบาลของรัฐมากขึ้น เพื่อให้มารดาและทารกนั้นคลอดอย่างปลอดภัย และช่วยลดอัตราตายในมารดาและทารก อีกทั้งเพื่อสร้างกระแสการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และเด็กที่จะเกิดมาในอนาคตได้รับการดูแลที่ถูกวิธี เพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี และเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติในอนาคต และยังเป็นการสร้างสายใยรักความผูกพันของครอบครัวอีกด้วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
2.1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และสามี หรือญาติมีความรู้ความเข้าใจดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนครอบครัวมีความรู้และมีบทบาทสำคัญในการร่วมมือให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด
ตัวชี้วัด : 1.ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์(Early ANC) >80%
2.โลหิตจาง Anemai<10%(Lab ครั้งที่ 1) และ< 50% (Lab ครั้งที่ 2)
3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์>60%
4. น้ำหนักทารกแรกเกิดต่ำกว่า 2500 กรัม (Low birth weight) <7%
90.00
2
2.2 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขี้น ไม่ผุก่อนวัย
ตัวชี้วัด : 1.มีโภชนาการตามเกณฑ์>82%
2.มีพัฒนาการสมวัย >90%
3.ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์>90%
4.เด็กอายุ 18 เดือน-2 ปี 11 เดือน 29 วัน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ปีละ 2 ครั้ง >40%
100.00
3
2.3 เพื่อส่งเสริมให้เมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด : 1.เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช>60%
2.เ็กอายุครบ 3 ปี มีฟันน้ำนมไม่ผุ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี
100.00
4
2.4 เพื่อสร้างกระแสสังคมให้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
240
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และสามี หรือญาติมีความรู้ความเข้าใจดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนครอบครัวมีความรู้และมีบทบาทสำคัญในการร่วมมือให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด (2) 2.2 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขี้น ไม่ผุก่อนวัย (3) 2.3 เพื่อส่งเสริมให้เมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก (4) 2.4 เพื่อสร้างกระแสสังคมให้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-3039-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลปุลากง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561 ”
ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลปุลากง
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-3039-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-3039-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,030.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ส่งผลให้สภาพสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไป ขนาดของครอบครัวมีขนาดเล็กลง เป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น บิดา-มารดาต้องออกไปทำงานมากขึ้น ทำให้ขาดผู้ดูแลเด็ก เด็กบางรายต้องอาศัยอยู่กับตายาย นอกจากนั้นแล้ว สภาพสังคมปัจจุบันผู้หญิงเมื่อแต่งงานมีครอบครัว ผู้หญิงได้เข้ามามีบทบาทในการทำงานมากขึ้น ไม่ว่างานในบ้านและทำงานนอกบ้าน ควบคู่กับการดูแลครอบครัวไปด้วย ทำให้ขาดการดูแลเอาใจใส่ตัวเอง ยิ่งถ้าเป็นช่วงที่มีครรภ์ บางครั้งลักษณะของงานที่ทำบางอย่างและการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ที่ไม่ถูกต้อง อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ได้ อีกทั้งปัจจุบัน พบว่า ทารกหลังคลอดมักถูกมารดาทิ้งให้อยู่ในความดูแลของญาติหรือผู้สูงอายุในบ้านส่งผลให้เด็กเกิดปัญหาภาวะสุขภาพต่างๆ เช่น ภาวะทุพโภชนาการ น้ำหนักน้อย เด็กผอมขาดการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (ขาดฉีดวัคซีน) ฟันพุก่อนวัย รวมถึงปัญหาการศึกษาของเด็ก ซึ่งอาจจะส่งผลถึงอนาคตของเด็กด้วย จากการวิเคราะห์สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุลากง และตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ย้อนหลัง 5 ปี (ตั้งแต่ปี 2556-2560) พบว่า ปัญหาที่ยังพบเจอได้ในทุกๆปี คือ การฝากครรภ์ล่าช้า (ก่อน 3 เดือน/Late ANC) หญิงตั้งครรภ์มีอายุน้อยกว่า 20 ปี(Teenagnancy) ภาวะซีดขณะตั้งครรภ์(Anemia)ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม (Low birth weight)เด็กอายุ 6 เดือน มีภาวะโลหิตจาง มากกว่าร้อยละ 50 ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์มีเด็กผอม และเตี้ย (Malnutrition) จำนวนไม่น้อย ซึ่งสาเหตุของปัญหาดังกล่าว มาจากการดูแลตัวเองของหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ตอนท้อง การขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนา่การที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ ผู้ปกครองไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีการพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลการสำรวจ IQ (รายงานระดับจังหวัด) เด็กประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่า IQ เฉลี่ยแล้วต่ำของประเทศและเรื่องของวัคซีนพบว่า ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนต่ำเกือบทุกตัว สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการรับวัคซีนที่ล่าช้า ไม่เห็นประโยชน์ของวัคซีน และเกิดอาการข้างเคียงจากการได้รับวัคซีน อีกทั้งยังพบว่า เด็ก 0-5 ปีมีปัญหาฟันผุเยอะมาก เนื่องจากมีพฤติกรรมไม่แปรงฟันและการดูแลช่องปากที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งแนวทางการดูแลและป้องกันปัญหาดังกล่าว คือ ต้องสร้างความตระหนักในกลุ่มผู้ปกครอง ต้องให้การดูแลที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพเสริมสร้างทักษะการดูแลหลังคลอด ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ส่งเสริมการอบรมเลี้ยงดูที่ตอบสนองความต้องการของเด็กทุกด้านตามวัย และการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน และเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เข้มแข็ง ด้วยเหตุนี้ ทางทีมสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุลากงและทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว และตระหนักถึงคววามสำคัญของการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน และเครือข่ายที่ดี เข้มแข็งการพัฒนาคุณภาพแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพ จึงได้จัดทำโครงการ "เด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561 "เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และการพัฒนาเด็กวัย 0-5 ปี พร้อมส่งเสริมในเรื่องการ กิน กอด เล่น เล่า เฝ้าระวังสุขภาพช่องปากและฟัน และเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้แก่เด็ก เพื่อสร้างเด็กปุลากงดี 10อย่าง เด็กมีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี เหมาะสตามวัย เป็นพลเมืองที่สร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมในอนาคตและยังเป็นการสร้างสายใยรักความผูกพันของครอบครัวอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และสามี หรือญาติมีความรู้ความเข้าใจดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนครอบครัวมีความรู้และมีบทบาทสำคัญในการร่วมมือให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด
- 2.2 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขี้น ไม่ผุก่อนวัย
- 2.3 เพื่อส่งเสริมให้เมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก
- 2.4 เพื่อสร้างกระแสสังคมให้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 100 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ครอบครัว ชุมชน และเครือข่ายองค์กรทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จ มีคุณภาพและยั่งยืน รวมทั้งหญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลในระยะการตั้งครรภ์จนถึงระยะหลังคลอดอย่างมีคุณภาพและในรายที่มีความเสี่ยงได้รับการส่งต่อไปยังสถานบริการของรัฐตามมาตรฐานการส่งต่อ ตลอดจนส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ได้คลอดกับสถานพยาบาลของรัฐมากขึ้น เพื่อให้มารดาและทารกนั้นคลอดอย่างปลอดภัย และช่วยลดอัตราตายในมารดาและทารก อีกทั้งเพื่อสร้างกระแสการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และเด็กที่จะเกิดมาในอนาคตได้รับการดูแลที่ถูกวิธี เพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี และเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติในอนาคต และยังเป็นการสร้างสายใยรักความผูกพันของครอบครัวอีกด้วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 2.1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และสามี หรือญาติมีความรู้ความเข้าใจดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนครอบครัวมีความรู้และมีบทบาทสำคัญในการร่วมมือให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด ตัวชี้วัด : 1.ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์(Early ANC) >80% 2.โลหิตจาง Anemai<10%(Lab ครั้งที่ 1) และ< 50% (Lab ครั้งที่ 2) 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์>60% 4. น้ำหนักทารกแรกเกิดต่ำกว่า 2500 กรัม (Low birth weight) <7% |
90.00 |
|
||
2 | 2.2 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขี้น ไม่ผุก่อนวัย ตัวชี้วัด : 1.มีโภชนาการตามเกณฑ์>82% 2.มีพัฒนาการสมวัย >90% 3.ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์>90% 4.เด็กอายุ 18 เดือน-2 ปี 11 เดือน 29 วัน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ปีละ 2 ครั้ง >40% |
100.00 |
|
||
3 | 2.3 เพื่อส่งเสริมให้เมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก ตัวชี้วัด : 1.เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช>60% 2.เ็กอายุครบ 3 ปี มีฟันน้ำนมไม่ผุ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี |
100.00 |
|
||
4 | 2.4 เพื่อสร้างกระแสสังคมให้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 240 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 100 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และสามี หรือญาติมีความรู้ความเข้าใจดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนครอบครัวมีความรู้และมีบทบาทสำคัญในการร่วมมือให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด (2) 2.2 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขี้น ไม่ผุก่อนวัย (3) 2.3 เพื่อส่งเสริมให้เมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก (4) 2.4 เพื่อสร้างกระแสสังคมให้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กปุลากง เด็ก Smart kids ปี 2561 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-3039-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลปุลากง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......