กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากนํ้า ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอารัญย์ มัจฉา

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากนํ้า ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5312-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากนํ้า ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากนํ้า ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากนํ้า ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5312-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 106,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆของประเทศไทย คือโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือดมีอัตราตาย ๘๕.๐๔ ,๓.๖๔ , ๕๕.๒๕ ต่อแสนประชากรตามลำดับ (ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขพ.ศ.๒๕๕๐)และต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก เฉพาะโรคมะเร็งอย่างเดียว ประมาณคนละ ๑ ล้านบาท ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง คือขาดการออกกำลังกาย มีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้ประชาชนจะมีความรู้ แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง และจากการสำรวจของกรมอนามัยในปี๒๕๕๐ พบว่าคนไทยมีเพียง ๕ล้านคนเท่านั้นที่มีการออกกำลังกายเพียงพอที่จะช่วยป้องกันโรคได้ สำหรับการรับประทานอาหารนั้น จากการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยอายุมากกว่า๑๕ปีโดยเก็บจากประชากรกลุ่มอายุ ๑๕ปีขึ้นไป จำนวน๖,๗๐๕คนพบว่า กลุ่มศึกษามีความถี่เฉลี่ยการบริโภคผักและผลไม้เท่ากับ ๕.๙๗และ๔.๕๖ วันต่อสัปดาห์ตามลำดับมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการปฏิบัติจริง ๒ กระบวนการได้แก่ ๑. การออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย ๓-๕ วันๆละ อย่างน้อย ๓๐ นาที๒. การรับประทานผักและผลไม้สด วันละครึ่งกิโลกรัม หรือรับประทานผักในปริมาณครึ่งหนึ่งของอาหารแต่ละมื้อ และลดการรับประทานอาหารไขมัน จะสามารถทำให้ประชาชนลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ถึงร้อยละ ๒๐-๓๐โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดก็ลดลงมากเช่นกันทั้งการออกกำลังกายและการปลูกผักร่วมกันยังเป็นกิจกรรมสร้างความอบอุ่นในครอบครัวอีกด้วย จากผลการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำในปีงบประมาณ ๒๕61 ที่ผ่านมาพบว่าประชากรที่ได้รับการคัดกรองทั้งหมด 2,619 คน พบว่าประชากรที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง442 คนคิดเป็นร้อยละ 16.88 แยกรายหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านปากบารา 327 คน หมู่ที่ 4 บ้านตะโละใส 78 คน หมู่ที่ 5 บ้านท่ายาง 9 คน หมู่ที่ 6 บ้านท่ามาลัย 23 คน และหมู่ที่ 7 บ้านท่าพยอม 5 คน
จากสถานการณ์ดังกล่าว ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำจัดทำโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลโรคเรื้อรัง ขึ้น ตามหลัก ๓อ.๒ส.ในพื้นที่หมู่บ้านหมู่ที่ ๒ บ้านปากบารา เนื่องจากมีประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงที่สุด เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการปฏิบัติจริง มีพฤติกรรมออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วัน ๆ ละอย่างน้อย 30นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไปและลดอาหารไขมันจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือดลงเกิดกลไกคณะทำงานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่เข้มแข็ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. หมมู่บ้านเป้าหมาย คือ หมู่ที่2 บ้านปากบารา ประชากรกลุ่มเสี่ยงจำนวน 100 คน
  2. 2. อสม. หมู่2 บ้านปากบารา จำนวน 20 คน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และจัดทำแผนแก้ไขปัยหาโรคเรื้อรัง จำนวน 100 คน
  2. กิจกรรมติตามการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรั้งในประชากรกลุ่มเสี่ยง จำนวน 3 ครั้ง
  3. กิจกรรมเวทีสรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน
  4. กิจกรรมมหกรรมสุขภาพดี ตามวิถีชุมชนบ้านปากบารา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หมู่ 2บ้านปากบารา เป็นหมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. ภาคีเครื่อข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. หมมู่บ้านเป้าหมาย คือ หมู่ที่2 บ้านปากบารา ประชากรกลุ่มเสี่ยงจำนวน 100 คน
ตัวชี้วัด : - หมู่2 บ้านปากบารา เป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
0.00

 

2 2. อสม. หมู่2 บ้านปากบารา จำนวน 20 คน
ตัวชี้วัด : - อสม. หมู่ 2 บ้านปากบารา มีความรู้ในกระบวนการปรับเปลี่่ยนพฤติกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. หมมู่บ้านเป้าหมาย คือ หมู่ที่2 บ้านปากบารา ประชากรกลุ่มเสี่ยงจำนวน 100 คน (2) 2. อสม. หมู่2 บ้านปากบารา จำนวน 20 คน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และจัดทำแผนแก้ไขปัยหาโรคเรื้อรัง จำนวน 100 คน (2) กิจกรรมติตามการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรั้งในประชากรกลุ่มเสี่ยง จำนวน 3 ครั้ง (3) กิจกรรมเวทีสรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน (4) กิจกรรมมหกรรมสุขภาพดี ตามวิถีชุมชนบ้านปากบารา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากนํ้า ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5312-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอารัญย์ มัจฉา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด