กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการพัฒนาสุขภาวะของเยาวชนและชุมชนบ้านเขาจีน ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุรพร ปานแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสุขภาวะของเยาวชนและชุมชนบ้านเขาจีน

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5300-2-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาสุขภาวะของเยาวชนและชุมชนบ้านเขาจีน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาสุขภาวะของเยาวชนและชุมชนบ้านเขาจีน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาสุขภาวะของเยาวชนและชุมชนบ้านเขาจีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5300-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชุมชนเป็นหน่วยหนึ่งของสังคมที่กำหนดรูปแบบการดำเนินชีวิตความเป็นอยู่ รวมทั้งเรื่องของสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนนั้นๆ เช่น ชุมชนเมือง มีประชากรอาศัยอยู่อย่างแออัดหนาแน่น มีการแก่งแย่ง แข่งขันกันประกอบอาชีพ พึ่งพาเทคโนโลยี จึงทำให้ชีวิตของคนในชุมชนเมืองมีความเร่งรีบ แข่งขันกับเวลาและเกิดความเครียดได้ง่าย ส่วนชุมชนชนบทเป็นชุมชนที่ผู้อาศัยอยู่กันอย่างพึ่งพาอาศัย ดำรงชีวิตอย่างเรียบง่าย พึ่งพาธรรมชาติ อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดี แต่มีทางเลือกในการรับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขน้อยกว่าคนในชุมชนเมือง เป็นต้น ชุมชนแต่ละชุมชนของประเทศไทยมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ทั้งด้านสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และลักษณะการดำรงชีวิตของผู้คน เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ อากาศร้อน ฝนตกชุก หรือแห้งแล้ง การประกอบอาชีพ ความเชื่อ ความสนใจ และวัฒนธรรม รวมถึงความแตกต่างกันทางเศรษฐกิจ รายได้ และระดับของการศึกษา ซึ่งลักษณะของความแตกต่างดังกล่าว ส่งผลต่อการเกิดโรคที่เป็นปัญหาในชุมชนแต่ละชุมชนที่แตกต่างกันออกไปด้วย เช่น ผู้คนในชุมชนเมืองมักเจ็บป่วยด้วยโรคเกี่ยวกับความเครียด โรคระบบทางเดินหายใจ โรคภูมิแพ้จากสารพิษ โรคหัวใจ และโรคเบาหวาน ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง และขาดการออกกำลังกาย ส่วนคนในชนบทมักป่วยเป็นโรคที่เกิดจากการขาดดูแลเรื่องสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีพอ เช่น การจัดการเรื่องน้ำดื่ม น้ำใช้ การจักการเรื่องส้วมที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ส่งผลทำให้เกิดโรคท้องร่วง หรือโรคอหิวาตกโรคเกิดขึ้นได้

การป้องกันโรคเป็นการสร้างเสริมสุขภาพของชุมชนโดยทำให้บุคคลในชุมชนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง มีความต้านทานหรือมีภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ ได้มากที่สุด ดังนั้นเพื่อให้ชุมชนสามารถดูแลเรื่องการป้องกันโรคในชุมชนได้ด้วยตนเอง ควรยึดหลักการป้องกันโรคดีกว่าที่จะต้องรอเวลาให้มีการเจ็บป่วยแล้วรักษา ถึงแม้ว่าชุมชนแต่ละชุมชนจะมีความแตกต่างกันในเรื่องของลักษณะสภาพแวดล้อม และวิถีการดำรงชีวิตของผู้คนก็ตาม แต่ทุกชุมชนก็สามารถเป็นชุมชนสุขภาพดี ได้ตามศักยภาพของตนโดยมุ่งเน้นการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคเป็นสำคัญ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนในชุมชนบ้านเขาจีนมีทักษะชีวิตในการป้องกันโรค
  2. เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนในการป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ กิจกรรม ๕ อ ประกอบด้วย อาหาร, อากาศ, อารมณ์, ออกกำลังกาย, อุจจาระ
  2. สำรวจสุขภาวะชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. มีกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันโรคโดยการสร้างเสริมสุขภาพของชุมชน จำนวน 1 กิจกรรม 2. มีกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการป้องกันโรคติดต่อ 80 คน 3. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนลดลง ร้อยละ 10 ผลลัพธ์ 1. มีกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันโรคโดยการสร้างเสริมสุขภาพของคนในชุมชน 2. สามารถเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายในการป้องกันโรคในชุมชน และสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ผู้อื่น เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้เข้มแข็งปลอดภัยจากการระบาดด้วยโรคติดต่อ
3. สามารถลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนบ้านเขาจีน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ กิจกรรม ๕ อ ประกอบด้วย อาหาร, อากาศ, อารมณ์, ออกกำลังกาย, อุจจาระ

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดกิจกรรม 1.1 การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 1.2  กิจกรรม ๕ อ ประกอบด้วย อาหาร, อากาศ, อารมณ์, ออกกำลังกาย, อุจจาระ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. มีกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันโรคโดยการสร้างเสริมสุขภาพของชุมชน จำนวน 1 กิจกรรม 2. มีกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการป้องกันโรคติดต่อ 80 คน 3. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนลดลง ร้อยละ 10 ผลลัพธ์ 1. มีกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันโรคโดยการสร้างเสริมสุขภาพของคนในชุมชน 2. สามารถเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายในการป้องกันโรคในชุมชน และสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ผู้อื่น เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้เข้มแข็งปลอดภัยจากการระบาดด้วยโรคติดต่อ
3. สามารถลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนบ้านเขาจีน

 

80 0

2. สำรวจสุขภาวะชุมชน

วันที่ 16 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.สำรวจสุขภาวะชุมชน - สร้างแบบสอบถาม/วิเคราะห์แบบสอบถาม
- จัดทำแผนพัฒนาสุขภาวะของตนเอง 2.จัดทำแผนพัฒนาสุขภาวะของตนเองและกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. มีกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันโรคโดยการสร้างเสริมสุขภาพของชุมชน จำนวน 1 กิจกรรม 2. มีกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการป้องกันโรคติดต่อ 80 คน 3. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนลดลง ร้อยละ 10 ผลลัพธ์ 1. มีกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันโรคโดยการสร้างเสริมสุขภาพของคนในชุมชน 2. สามารถเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายในการป้องกันโรคในชุมชน และสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ผู้อื่น เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้เข้มแข็งปลอดภัยจากการระบาดด้วยโรคติดต่อ
3. สามารถลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนบ้านเขาจีน

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนในชุมชนบ้านเขาจีนมีทักษะชีวิตในการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : สามารถลดปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนบ้านเขาจีนได้ลง ร้อยละ 10
10.00 10.00

 

2 เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนในการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายเยาวชนในการป้องกันโรคบ้านเขาจีน 1 เครือข่าย
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนในชุมชนบ้านเขาจีนมีทักษะชีวิตในการป้องกันโรค (2) เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนในการป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ กิจกรรม ๕ อ ประกอบด้วย อาหาร, อากาศ, อารมณ์, ออกกำลังกาย, อุจจาระ (2) สำรวจสุขภาวะชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาสุขภาวะของเยาวชนและชุมชนบ้านเขาจีน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5300-2-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุรพร ปานแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด