กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางลาย


“ โครงการบางลายปลอดภัยสุขภาพดีมีความสุขใส่ใจสิ่งแวดล้อม ”

ตำบลบางลาย อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางบุญรอด พรมกา

ชื่อโครงการ โครงการบางลายปลอดภัยสุขภาพดีมีความสุขใส่ใจสิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ ตำบลบางลาย อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบางลายปลอดภัยสุขภาพดีมีความสุขใส่ใจสิ่งแวดล้อม จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางลาย อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางลาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบางลายปลอดภัยสุขภาพดีมีความสุขใส่ใจสิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร (2) ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร (3) เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมจัดทำแผนงานคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบางลาย (2) ตรวจมาตรฐานร้านค้าและสารปนเปื้อนในอาหาร (3) อบรมแกนนำอย.น้อย อสม.น้อย (4) อบรมการเลือกซื้อขนมกรุบกรอบ (5) อบรมการใช้เกษตรพอเพียง (6) ประชุมสรุปผลงาน (7) ตรวจเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากปัญหาในชุมชนคือการซื้อยารับประทานเองจากร้านขายของชำที่ยังคงแอบจำหน่ายยาอันตราย หรือยาที่มีสารสเตียรอยด์ผสม การรับประทานอาหารที่มีสารปนเปื้อนในอาหาร ไม่ว่าจะเป็น สารฟอกขาว สาวฟอร์มาลีนสารกันลา ตลอดจน ผลิตภัณฑ์ที่มีสารต้องห้าม เช่น ยากันยุง สารฆ่าแมลง ซึ่งจากปัญหาดังกล่าว ส่งผลเสียต่อสุขภาพเป็นอย่างมาก ภาคีเครือข่ายสุขภาพตำบลบางลายจึงได้มีการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลบางลายในปีงบประมาณ 2560 ขึ้น เพื่อแก้ปัญหาด้านงานคุ้มครองผู้บริโภคที่พบ ผ่านกลยุทธ์การดำเนินงาน คือ การมีส่วนร่วม, 3R-2S-1E, มีระบบเฝ้าระวัง และการคืนข้อมูลสู่ชุมชน โดยใช้งบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบลบางลาย มี สมาชิกชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบางลาย จำนวน 30 คน ครบทุกหมู่บ้าน ดำเนินการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์เบื้องต้น ณ ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบางลาย จากการเฝ้าระวัง พบว่าปัญหาหลักเรื่องการจำหน่ายยาอันตรายในสถานประกอบการร้านชำคิดเป็นร้อยละ 13.64 ปัญหาร้านอาหารปลอดภัยไม่ผ่านมาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 11.11 ปัญหาร้านขายของชำไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 8.89 สารฟอร์มาลีนไม่ผ่านเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 30 และน้ำมันทอดซ้ำพบสารโพลาร์ไม่ผ่านเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 60 ทั้งนี้ในการตรวจเฝ้าระวังด้านอื่นๆ เช่น สารปนเปื้อนในอาหาร ตลาดนัด และผลิตภัณฑ์อุปโภคบริโภคต่างๆ แม้จะไม่พบปัญหา แต่การเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องยังคงมีความจำเป็น เนื่องจากปัญหาการเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคสามารถเปลี่ยนแปลง และเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ สร้างความตระหนักในกลุ่มเป้าหมายและเกิดการเฝ้าระวังในพื้นที่ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบางลายจึงได้จัดทำโครงการบางลายปลอดภัย สุขภาพดีมีความสุข ใส่ใจสิ่งแวดล้อม โดยชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบางลาย ในปี พ.ศ.2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
  2. ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
  3. เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมจัดทำแผนงานคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบางลาย
  2. ตรวจมาตรฐานร้านค้าและสารปนเปื้อนในอาหาร
  3. อบรมแกนนำอย.น้อย อสม.น้อย
  4. อบรมการเลือกซื้อขนมกรุบกรอบ
  5. อบรมการใช้เกษตรพอเพียง
  6. ประชุมสรุปผลงาน
  7. ตรวจเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน 170
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน
  2. อย.น้อยและอสม.น้อยด้านการทำงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน
  3. เด็กอ้วนเลือกรับประทานอาหารได้อย่างเหมาะสม
  4. เกษตรกรมีความรู้ในการลดใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมจัดทำแผนงานคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบางลาย

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบางลาย เพื่อวางแผนการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2561

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบางลาย เข้าประชุมวางแผนการดำเนินงานตามเป้าหมา 30 คน

 

30 0

2. ตรวจมาตรฐานร้านค้าและสารปนเปื้อนในอาหาร

วันที่ 10 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ออกประเมินมาตรฐานทางกายภาพและสารปนเปื้อนใน ร้านชำ ร้านอาหารแผงลอย ตลาดนัด จำนวน 2
ครั้ง โดยมีทีมออกกประเมินมาตรฐานครั้งละ 30 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สถานประกอบการทุกประเภทในปี พ.ศ.2561 ในครั้งที่ 2 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100

 

60 0

3. อบรมแกนนำอย.น้อย อสม.น้อย

วันที่ 31 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมแกนนำ อย.น้อย อสม.น้อย ในโรงเรียนในเขตพื้นที่ตำบลบางลาย อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร
จำนวน 5 โรงเรียน โรงเรียนละ 20 คน รวมเป็น 100 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมแกนนำ อย.น้อย อสม.น้อย ในโรงเรียนในเขตพื้นที่ตำบลบางลาย อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร
จำนวน 5 โรงเรียน โรงเรียนละ 20 คน รวมเป็น 100 คน - ก่อนอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80  จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 22 - หลังอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80  จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 85 - เกิดแกนนำ อย.น้อย อสม.น้อย ใน 5 โรงเรียนในพื้นที่ตำบลบางลาย จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100

 

100 0

4. อบรมการเลือกซื้อขนมกรุบกรอบ

วันที่ 13 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเด็กอ้วนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐานเรื่องการเลือกซื้อขนมกรุบกรอบในโรงเรียนทั้ง 5 โรงเรียน จำนวน  40 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมเด็กอ้วนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐานเรื่องการเลือกซื้อขนมกรุบกรอบในโรงเรียนทั้ง 5 โรงเรียน จำนวน  40 คน - ก่อนอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80  จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5
- หลังอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80  จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 92.5 - เด็กอ้วนที่เข้าอบรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและให้น้ำหนักอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 7 คนคิดเป็นร้อยละ 17.5

 

4,000 0

5. ตรวจเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร

วันที่ 22 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในปี พ.ศ.2561 มีแนวโน้มไม่พบสารปนเปื้อนเพิ่มขึ้น ผ่านเกณฑ์ร้อนละ 98.21

 

60 0

6. อบรมการใช้เกษตรพอเพียง

วันที่ 20 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมการใช้เกษตรพอเพียงและการลดใช้สารเคมีทางการเกษตรและให้กับเกษตรกรและผู้บริโภค
จำนวน 50 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมการใช้เกษตรพอเพียงและการลดใช้สารเคมีทางการเกษตรและให้กับเกษตรกรและผู้บริโภค
จำนวน 50 คน - ก่อนอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80  จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 46
- หลังอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80  จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100

 

50 0

7. ประชุมสรุปผลงาน

วันที่ 24 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จำนวน 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการจัดประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จำนวน 1 ครั้งมีเข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน มีการวัดความพึ่งพอใจที่มีต่อโครงการ อยู่ในระดับพอใจมาก ร้อยละ 90

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินโครงการ 1.1 ร้านชำ จำนวน 45 ร้าน 1.2 ร้านอาหารแผงลอย จำนวน 17 ร้าน 1.3 ตลาดนัด จำนวน 1 แห่ง

  2. มีการจัดการประชุมจัดทำแผนการดำเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 1 ครั้งโดยมีสมาชิกชมรม เข้าร่วมจัดทำแผน จำนวน 30 คน

  3. ออกประเมินมาตรฐานทางกายภาพและสารปนเปื้อนใน ร้านชำ ร้านอาหารแผงลอย ตลาดนัด จำนวน 2
    ครั้ง โดยมีทีมออกกประเมินมาตรฐานครั้งละ 30 คน พบว่าการตรวจประเมินมาตรฐานสถานประกอบการทุกประเภทในปี พ.ศ.2561 ในครั้งที่ 2 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 การตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในปี พ.ศ.2561 มีแนวโน้มไม่พบสารปนเปื้อนเพิ่มขึ้น ผ่านเกณฑ์ร้อนละ 98.21

  4. จัดอบรมแกนนำ อย.น้อย อสม.น้อย ในโรงเรียนในเขตพื้นที่ตำบลบางลาย อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร
    จำนวน 5 โรงเรียน โรงเรียนละ 20 คน รวมเป็น 100 คน

- ก่อนอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 22 - หลังอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 85 - เกิดแกนนำ อย.น้อย อสม.น้อย ใน 5 โรงเรียนในพื้นที่ตำบลบางลาย จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100

  1. จัดอบรมเด็กอ้วนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐานเรื่องการเลือกซื้อขนมกรุบกรอบในโรงเรียนทั้ง 5 โรงเรียน จำนวน 40 คน

- ก่อนอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5
- หลังอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 92.5 - เด็กอ้วนที่เข้าอบรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและให้น้ำหนักอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 7 คนคิดเป็นร้อยละ 17.5

  1. จัดอบรมการใช้เกษตรพอเพียงและการลดใช้สารเคมีทางการเกษตรและให้กับเกษตรกรและผู้บริโภค
    จำนวน 50 คน

- ก่อนอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 46
- หลังอบรมมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100

  1. มีการจัดประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จำนวน 1 ครั้งมีเข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน มีการวัดความพึ่งพอใจที่มีต่อโครงการ อยู่ในระดับพอใจมาก ร้อยละ 90

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ
30.00 10.00 10.00

 

2 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ
20.00 0.00 0.00

 

3 เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
20.00 10.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 310
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน 170
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร (2) ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร (3) เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมจัดทำแผนงานคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบางลาย (2) ตรวจมาตรฐานร้านค้าและสารปนเปื้อนในอาหาร (3) อบรมแกนนำอย.น้อย อสม.น้อย (4) อบรมการเลือกซื้อขนมกรุบกรอบ (5) อบรมการใช้เกษตรพอเพียง (6) ประชุมสรุปผลงาน (7) ตรวจเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบางลายปลอดภัยสุขภาพดีมีความสุขใส่ใจสิ่งแวดล้อม

ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการบางลายปลอดภัยสุขภาพดีมีความสุขใส่ใจสิ่งแวดล้อม จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางบุญรอด พรมกา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด