กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว


“ ตำบลหนองบัวบริหารจัดการขยะประปลอดภัยไร้โรค ”

ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางปรีดาจันทรมาศ

ชื่อโครงการ ตำบลหนองบัวบริหารจัดการขยะประปลอดภัยไร้โรค

ที่อยู่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ตำบลหนองบัวบริหารจัดการขยะประปลอดภัยไร้โรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ตำบลหนองบัวบริหารจัดการขยะประปลอดภัยไร้โรค



บทคัดย่อ

โครงการ " ตำบลหนองบัวบริหารจัดการขยะประปลอดภัยไร้โรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้มีมติเห็นชอบ Roadmap การกำจัดขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในการประชุมเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2557 โดยมีนโยบายการแก้ปัญหาขยะมูลฝอย ดังนี้ 1) แก้ปัญหาขยะเก่า คือ เร่งกำจัดขยะมูลฝอยที่ตกค้างสะสมในพื้นที่ จะต้องไม่มีขยะถูกกองทิ้งกลางแจ้ง2) ขยะมูลฝอยที่เกิดใหม่ให้ดำเนินการจัดการขยะรูปแบบใหม่ คือ ต้องลดการผลิตขยะและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่บ้านเรือน3) วางระเบียบ
มาตรการที่จะรองรับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้กำกับดูแลการบริหารขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด4) การสร้างวินัยของคนในชาติ คือการให้ความรู้กับประชาชนและการบังคับใช้กฎหมาย ซึ่งในปัจจุบันหมู่บ้านในเขตพื้นที่ตำบลหนองบัว มีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นส่งผลให้ปริมาณขยะในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย จะเห็นได้จากขยะมูลฝอยตามหมู่บ้านทั้ง 9 หมู่บ้าน มีอัตราเพิ่มขึ้นซึ่งขยะเหล่านั้นเป็นขยะที่ย่อยสลายได้ยาก เช่น กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก แลพขยะอิเล็กทรอนิกต่างๆ ซึ่งขยะเหล่านี้ก่อให้เกิดมลภาวะ เป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคต่างๆตลอดจนเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน เช่นโรคระบบทางเดินหายใจ/โรคจากภูมิแพ้/โรคจากการติดเชื้อ/โรคมะเร็ง เป็นต้น จากเหตุปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ทำให้ปัญหาเรื่องการจัดการขยะยากที่จะควบคุมได้ เว้นแต่ประชาชนในหมู่บ้านซึ่งเป็นผู้บริโภคและผู้ขายจะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมลดการใช้ เปลี่ยนการใช้หีบห่อบรรจุภัณฑ์จากพลาสติก เป็นหีบห่อบรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติ เช่น ใบตอง กระดาษที่สามารถย่อยสลายได้ง่ายและนำวัสดุเหลือใช้นำกลับมาใช้ใหม่แทนที่จะทิ้งเป็นขยะเพื่อลดจำนวนขยะ และลดรายจ่ายในการซื้อของใหม่ ในปัจจุบันปัญหาขยะเป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศ ซึ่งยากที่จะแก้ไขและสาเหตุหนึ่งเกิดจากประชาชนไม่รู้จัดการบริหารจัดการขยะที่เกิดขึ้น ซึ่่งส่วนมากประชาชนยังขาดจิตสำนึกและแรงจูงใจในการคัดแยกขยะทำให้ประชาชนบางส่วนจะทิ้งลงช้างทางบ้างหรือทิ้งลงตามแม่น้ำลำคลองและสำหรับการทิ้งขยะลงแม่น้ำจะส่งผลให้น้ำเกิดเน่าเสียได้ ส่วนหนึ่งเกิดจากสาเหตุที่คนทั่วไปไม่รู้จักการคัดแยกขยะ นอกจากนี้ คสช. ได้กำหนดให้ปัญหาขยะเป็นวาระแห่งชาติ เพื่อเป็นการสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาขยะ กลุ่มสตรีตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จึงต้องสร้างจิตสำนักของการห้ามทิ้งขยะโดยปลูกฝังให้แก่เยาวชนและประชาชนทั่วไป พร้อมทั้งจัดหาวิธีการดำเนินการจัดการเกี่ยวกับขยะ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและมีประโยชน์มากที่สุด พร้อมกับเสนอวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้องเพื่อนำไปสู่ขั้นตอนการจัดการขยะที่ถูกต้อง สอดคล้องกับโครงการคัดแยกขยะ พัฒนาขยะหมู่บ้านด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงให้เกิดมลภาวะ แหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคต่างๆ ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน
  2. เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้กระบวนการค้นหาปัญหาและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากการเกิดโรคติดต่ออันเนื่องจากขยะมูลฝอย โดยการมีส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิต
  3. เพื่อให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
  4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ยกระดับคุณภาพชีวิตและเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดขยะลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของตำบลหนองบัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรับซื้อขยะรีไซเคิลแลกไข่
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 83
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยแข็งแรงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  2. ทำให้ประชาชนได้ตระหนักและจิตสำนึกในการร่วมกันลดปริมาณขยะและคัดแยกขยะในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางเศรษฐกิจและสามารถร่วมกันดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อมของชุมชนและท้องถิ่น
  3. ทำให้ประชาชนในท้องถิ่นมีความเข้าใจในกระบวนการเมืองน่าอยู่และให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมรณรงค์ความสะอาดหน้าบ้านของตนเองอย่างต่อเนือง เพื่อบรรลุเป้าหมายตำบลหนองบัวสะอาดและเป็นทางเลือกใหม่ในการลดปริมาณขยะและลดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
  4. ปริมาณขยะของตำบลหนองบัวลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ

วันที่ 28 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตียมการ 1.1 ประชุมขณะทำงานเพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินงาน 1.2 จัดทำและเสนออนุมัติ 1.3 ประสานกับหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง 1.4 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ 1.5 จัดหาอุปกรณ์ 1.6 กำหนดขยะต่อหน่วยในการแลกไข่ 1.7 จัดซื้อขยะรีไซเคิลแลกไข่ ในวันที่ 28 ของทุกเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีบุคคลเป้าหมายเข้ารับการอบรมครบตามเป้าหมายและได้มีการรับซื้อขยะจากสมาชิกกลุ่มสตรี และบุคคลทั่วไป

 

83 0

2. กิจกรรมรับซื้อขยะรีไซเคิลแลกไข่

วันที่ 28 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดหาอุปกรณ์ 2. กำหนดขยะต่อหน่วยในการแลกไข่ 3. จัดซื้อขยะรีไซเคิลแลกไข่ ในวันที่ 28 ของทุกเดือน 4. ประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อแจ้งให้ทราบถึงประเภทของวัสดุที่รับซื้อ ราคา วิธีการคัดแยกและการจัดการ เช่น การทำความสะอาดการแยกประเภทขยะที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มราคาและวันที่จะจัดกิจกรรมและประชาสัมพันธ์เชิญชวนชวนให้เข้าร่วมกิจกรรม โดยกำหนดวันรับขยะรีไซเคิลและไข่กับวันจัดอบรมโครงการให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะในวันที่ 28 ของทุกเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการรับซื้อจากบุคคลทั่วไปในวันที่ 28 ของทุกเดือน สถานที่ทำการซื้ออยู่ที่ทำการสตรีตำบลหนองบัว

 

5,200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงให้เกิดมลภาวะ แหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคต่างๆ ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้กระบวนการค้นหาปัญหาและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากการเกิดโรคติดต่ออันเนื่องจากขยะมูลฝอย โดยการมีส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิต
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ยกระดับคุณภาพชีวิตและเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดขยะลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของตำบลหนองบัว
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 83
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 83
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงให้เกิดมลภาวะ แหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคต่างๆ ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้กระบวนการค้นหาปัญหาและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากการเกิดโรคติดต่ออันเนื่องจากขยะมูลฝอย โดยการมีส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิต (3) เพื่อให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น (4) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ยกระดับคุณภาพชีวิตและเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดขยะลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของตำบลหนองบัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรับซื้อขยะรีไซเคิลแลกไข่ (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ตำบลหนองบัวบริหารจัดการขยะประปลอดภัยไร้โรค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปรีดาจันทรมาศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด