กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี 2561 ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนิอาซิ นิจินิการี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8302-1-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8302-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากนโยบายสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติส่งเสริมให้ประชาชนสร้าง นำซ่อม โดยมีเป้าหมายที่สำคัญคือการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยมุ่งเน้นให้คนไทยเข้าถึงบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมากขึ้น โดยเฉพาะในเด็ก ๐-๖ ปี ซึ่งได้สนองตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-พ.ศ. ๒๕๖๔) ได้เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยเฉพาะเด็กซึ่งเด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – ๖ ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมเด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน ก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต จากวลีคำตั้งแต่อดีตที่ว่า เด็กในวันนี้ คือ ผู้ใหญ่ในวันหน้า รัฐบาลในแต่ละสมัยได้มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยได้ระบุ ซึ่งพัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่ดี มักประสบปัญญาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ โดยเฉพาะระบบประสาทในทารกแรกเกิด – ๒ ปี จะมีการเจริญเติบโตประมาณ ร้อยละ ๗๕ ของทั้งหมด และเมื่ออายุ ๓ ปี จะมีการเจริญเติบโตถึงร้อยละ ๙๐ ถ้าหากเด็กมีภาวะทุพโภชนาการในช่วงนี้ ก็จะทำให้เด็กมีการเจริญเติบโต และมีพัฒนาการค่อนข้างช้า ตัวเล็ก น้ำหนักน้อย กล้ามเนื้อลีบเล็ก ไม่แข็งแรงผิวหนังแห้งและเด็กจะเป็นกำลังสำคัญที่จะพัฒนาประเทศและด้านอื่น ๆ ของประเทศตามที่ว่าเด็กเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า เด็กในวันนี้ คือ ผู้ใหญ่ในวันหน้าเป็นคำกล่าวที่มายาวนานซึ่งเด็กเป็นกำลังสำคัญที่จะพัฒนาประเทศชาติให้รุ่งเรืองต่อไปในอนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสะโล ได้เห็นความสำคัญตามนโยบายและต้องการเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลสุขภาพเด็กให้สุขภาพกาย ใจ ตลอดจนส่งเสริมให้มีการพัฒนาการเด็กเหมาะสมตามวัยโดยเน้นความร่วมมือในทุกส่วน โดยเฉพาะชุมชน และป้องกันกลุ่มเด็ก ๐-๖ ปี ให้มีสุขภาพดีพัฒนาการทีดีและไม่มีภาวะทุพโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ ซึ่งเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก(เขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านสะโล) ยังมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ ๒.๒๗ (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ ๑) ค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ ๘.๖๕ และน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ ๒.๑๔ ทำให้ประเทศขาดบุคลากรที่มีคุณภาพในการพัฒนาประเทศในอนาคต จึงต้องร่วมใจให้ประชาชนมีความรู้ในเรื่องโภชนาการมากขึ้นจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นและขอสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มคุณภาพเด็กแรกเกิด
  2. ๑. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในเด็ก ๐-๖ ปี และเด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ได้รับการดูแล ติดตามและมีน้ำหนักดีขึ้น
  3. ๒. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่ มัดเล็กและสังคมในเด็ก
  4. ๓. เพื่อสิ่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ ลูก มีกิจกรรมร่วมกัน
  5. ๔. เพื่อลดปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก ๐-๖ ปี
  6. ๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กและการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2. สนับสนุนอาหารเสริมในเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
  2. ป้ายโครงการ
  3. กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กร่วมสานสัมพันธ์พ่อแม่ลูก เด็ก ๐-๖ ปี ๓.๑ กิจกรรมละเล่นกีฬาสัมพันธ์พ่อแม่ลูก(กลุ่มเด็ก ๕-๖ ปี)
  4. ๓.๒ กิจกรรมพับกระดาษ วาดรูป สานรักสัมพันธ์ พ่อแม่ลูก(กลุ่มเด็ก ๒-๔ ปี)
  5. ๓.๒ กิจกรรมพับกระดาษ วาดรูป สานรักสัมพันธ์ พ่อแม่ลูก(กลุ่มเด็ก ๒-๔ ปี)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. อัตราน้ำหนักต่ออายุตามเกณฑ์ในเด็ก ๐-๖ ปีของรพ.สต.บ้านสะโล เพิ่มขึ้น ๒. อัตราส่วนสูงต่ออายุตามเกณฑ์ค่อนข้างสูง และสูงกว่าเกณฑ์รวมกันในเด็ก ๐-๖ ปีของ ๓. รพ.สต.บ้านสะโล ๔. ผู้ปกครองมีความรู้ความสามารถในการเลี้ยงดูและตระหนักถึงความสำคัญในการเฝ้าระวังดูแลโภชนาการ และส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๐-๖ ปี ได้ดีขึ้น ๕. ชุมชนมีความรู้ ความสามารถและมีส่วนร่วมในการดำเนินการแก้ไขปัญหาเด็กขาดสารอาหาร ๖. เด็ก ๐-๖ ปี มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สนับสนุนอาหารเสริมในเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

สนับสนุนอาหารเสริมในเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเด็กที่ได้ รับสับสนุนอาหารเสริมจำนวน 4 คน ๆ ละ 300 เป็นจำนวน 6 เดือน

 

4 0

2. ป้ายโครงการ

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ผืน

 

0 0

3. กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กร่วมสานสัมพันธ์พ่อแม่ลูก เด็ก ๐-๖ ปี ๓.๑ กิจกรรมละเล่นกีฬาสัมพันธ์พ่อแม่ลูก(กลุ่มเด็ก ๕-๖ ปี)

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

การประกวดเด็กสุขภาพดี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเด็กสุขภาพดี แข็งแรง เป็นแบบอย่างในการเลี้ยงดู

 

25 0

4. กิจกรรมพับกระดาษ วาดรูป สานรักสัมพันธ์ พ่อแม่ลูก(กลุ่มเด็ก ๒-๔ ปี)

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมพับกระดาษ พ่อ แม่ ลูก (2-4ปี)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ส่งเสริมการพัฒนาการเคลื่อนไหวของเด็ก

 

25 0

5. กิจกรรมละเล่นกีฬาสานสัมพันธ์ พ่อแม่ลูก(กลุ่มเด็ก 5-6 ปี)

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เล่นกีฬาสานสัมพันธ์ พ่อแม่ลูก(กลุ่มเด็ก 5-6 ปี)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ส่งพัฒนาการเคลื่อนไหว

 

25 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มคุณภาพเด็กแรกเกิด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
6.00 20.00

 

2 ๑. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในเด็ก ๐-๖ ปี และเด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ได้รับการดูแล ติดตามและมีน้ำหนักดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ๑. เด็กมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ไม่เกินร้อยละ ๑
0.00

 

3 ๒. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่ มัดเล็กและสังคมในเด็ก
ตัวชี้วัด : ๒. เด็กมีการตรวจพัฒนาการและตรวจภาวะโภชนาการ ร้อยละ ๙๕
0.00

 

4 ๓. เพื่อสิ่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ ลูก มีกิจกรรมร่วมกัน
ตัวชี้วัด : ๓. ติดตามพัฒนาการเด็กและให้คำแนะนำแก่ครอบครัว ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๘๐
0.00

 

5 ๔. เพื่อลดปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก ๐-๖ ปี
ตัวชี้วัด : ๔. เด็กมีโภชนาการภาวะปกติ ร้อยละ ๗๐
0.00

 

6 ๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กและการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : ๕. ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เรื่องโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ ๘๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มคุณภาพเด็กแรกเกิด  (2) ๑. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในเด็ก ๐-๖ ปี และเด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ได้รับการดูแล ติดตามและมีน้ำหนักดีขึ้น (3) ๒. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่ มัดเล็กและสังคมในเด็ก (4) ๓. เพื่อสิ่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ ลูก มีกิจกรรมร่วมกัน (5) ๔. เพื่อลดปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก ๐-๖ ปี (6) ๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กและการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2. สนับสนุนอาหารเสริมในเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์  (2) ป้ายโครงการ (3) กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กร่วมสานสัมพันธ์พ่อแม่ลูก เด็ก ๐-๖ ปี    ๓.๑ กิจกรรมละเล่นกีฬาสัมพันธ์พ่อแม่ลูก(กลุ่มเด็ก ๕-๖ ปี) (4) ๓.๒ กิจกรรมพับกระดาษ วาดรูป สานรักสัมพันธ์ พ่อแม่ลูก(กลุ่มเด็ก ๒-๔ ปี) (5) ๓.๒ กิจกรรมพับกระดาษ วาดรูป สานรักสัมพันธ์ พ่อแม่ลูก(กลุ่มเด็ก ๒-๔ ปี)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8302-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิอาซิ นิจินิการี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด