กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ในพื้นที่ทุรกันดาร ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอรุณ เอ็มดู

ชื่อโครงการ โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ในพื้นที่ทุรกันดาร

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-5312-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ในพื้นที่ทุรกันดาร จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ในพื้นที่ทุรกันดาร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ในพื้นที่ทุรกันดาร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-5312-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องคฺกรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 มาตรา 16 (19) กำหนดให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการ จัดระบบบริการสาธารระประโยคของประชนชนในท้องถิ่น ด้านสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล โโยมีเจนตนารมณ์ให้ อปท.ดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมอันนำไปสู้ภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตฐานอย่างทั่งถึงและมีประสิทธิ์ภาพ ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท่องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการจัดการกองทุนหลักประกันนสุขภาพในระดับพื้นที่ พ.ศ. 2557 ได้ให้ความหมาย การจัดบริหารสาธารณสุข หมายถึงการจัดบริหารสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมถรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิกรุก และแนบท้ายประกาศอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เรื่องการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ลง วีันที่ 25 มีนาคม 2557 (ข้ป 7) กลุ่มประชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง บ้านเกาะบูโหลนตั้งอยู่ในฝั่งทะเลอันดามัน ในเขตรับผิดชอบองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า อยู่ห่างท่าเรือปากบาราประมาณ 22 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางโดยเรือหางยาวประมาณ 1.5 ชั่วโมง วิถีชีวิตของชาวบ้านซึ่งส่วนมากเป็นชาวบ้านที่มีพื้นเพมาจากชาวเล มีภาษา ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ เป็นของตัวเอง ด้านข้อมูลสถานะสุขภาพพบว่าประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึงการบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่งถึง เมื่อเจ็บป่วยหรือมีปัญหาสุขภาพชาวบ้านจะเหมาเรือขึ้นมาบนฝั่ง ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูง ทำให้ชาวบ้านบางส่วนรักษาเองตามเชื่อ ที่สืบทอดปฎิบัติกันมา และช่วงมรสุมจะมีคลื่นแรงไม่สามารถขึ้นฝั่งมารักษาได้ ส่งผลต่อระบบสุขภาพโดยรวมทั้งในระดับบุคคล และชุมชน ข้อมูลการออกให้บริการเมื่อปีที่ผ่านมาพบโรค3 อันดับแรกคือ โรครนะบบทางเดินหายใจร้อยลบะ 21.90 โรคกล้ามเนื้อและกระดูกร้อยละ 11042 และโรคหลอกเลือดร้อยละ 6.66 ในจำนวนนี้ได้ส่งตัวผู้ป่วยมารับการตรวจที่โรงพยาบาลละงู 7 ราย เมื่อสอบถามความพึ่งพอใจต่อความต้องการให้มีการดำเนินโครงการต่อเนื่อง สำรวจจากชาวบ้าน 27 ราย พบว่าชาวบ้านส่วนใหญ่มีร้อยละ 88.56 ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า ได้เล็งเห็นความจำเป็นที่องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นต้องจัดบริการสาธารณะ โดยจักกิจกรรมบริการสาธารณสุขด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลเชิงรุกโดยจัดทีมสหวิชาชีพลงไปให้บริการในชุมชน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขให้ประชาชนที่มีอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดารมีโอกาสในการเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุขขั้นปฐมภูมิ
  2. 2.ดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออก 3 เก็บ 3 โรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ออกหน่วยแพทย์เคลื่อที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. องค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า ให้การดูแลและจัดบริการสาธารณะแกประชาชนในพื้นที่ห่างไกล และเสริมเติมเต็มในระบบสุขภาพในการให้บริการปฐมภูมิเชิงรุกแกประชาชนในพื้นที่อย่างทั่วถึง
  2. สามารถและช่วยลดและประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางมารับบริการสาธารณสุข
  3. ประชาชนได้รับการจัดการบริการสาะารณสุข การจัดบริการเสริมสร้าง การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขให้ประชาชนที่มีอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดารมีโอกาสในการเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุขขั้นปฐมภูมิ
ตัวชี้วัด : - เชิงปริมาณ 1. ออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เชิงรุก จำนวน 1 ครั้ง 2. ประชาชนร้อยละ 80 ของบริการมีความพึ่งพอใจ -เชิงคุณภาพ 1. ประชาชนบ้านเกาะบูโหลนสามารถเข้าถึงสาธารณสุขเพิ่มขึ้น
0.00

 

2 2.ดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออก 3 เก็บ 3 โรค
ตัวชี้วัด : -เชิงปริมาณ 1.ร้อยละ 80 ของหลังเรือนทั้งหมดได้รับการควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการพ่นหมอกครัน ใส่ทรายกำจัดลูกนํ้า 2. จัดกิจกรรม big cleaning day 1 ครั้ง -เชิงคุณภาพ 1. ไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกโรคปวดข้อ และโรคไข้ไวรัสซิกา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขให้ประชาชนที่มีอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดารมีโอกาสในการเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุขขั้นปฐมภูมิ (2) 2.ดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออก 3  เก็บ 3 โรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ออกหน่วยแพทย์เคลื่อที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ในพื้นที่ทุรกันดาร จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-5312-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอรุณ เอ็มดู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด