โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561 ”
ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมัสเตาะ ยามา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเก่า
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561
ที่อยู่ ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3005-1-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเก่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3005-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,995.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเก่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 ได้ให้ความหมายของคำว่่าเด็ก หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูณ์ แต่ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรสและคำว่า "เด็กกำพร้า" หมายความว่าเด็กที่บิดาหรือมารดาเสียชีวิต เด็กที่ไม่ปรากฏบิดาหรือมารดาหรือไม่สามารถสืบหาบิดหรือมารดาได้โดยพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 มีหลักการสำคัญคือ การระดมทรัพยากรทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมดูแล ปกป้อง คุ้มครองเด็ก เพื่อประโยชน์สุูงสุดของเด็ก และส่งเสริมหน้าที่ความรับผิดชอบของครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน ในการร่วมมือกันคุ้มครองเด็ก โดยในมาตรา 23 กล่าวคือ "ผู้ปกครองต้องให้การอุปการะเลี้ยงดูอบรมสั่งสอนและพัฒนาเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของตนตามสมควรแก่ขนบธรรมเนีียมประเพณีและวัฒนธรรมแห่งท้องถิ่นแต่ทั้งนี้ต้องไม่ต่ำกว่ามาตรฐานขั้นต่ำตามที่กำหนดในกฏกระทรวงและต้องคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของตนมิให้ตกอยู่ในภาวะอันน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใ ดยเด็กต้องอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนและสังคมต้องได้รับการเลี้ยงดูให้มีสุขภาพที่ดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ รวมถึงได้เรียนรู้ด้านจริยธรรม
ด้วยสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันของประเทศไทยต้องเกิดการชะลอตัว ค่าครองชีพ เครื่องอุปโภคบริโภคมีราคาสูงรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายทำให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่เด็กกำพร้า ทำให้เด็กกำพร้าขาดโอกาสในการออกมาทำกิจกรรมในตำบล บางรายอาจเกิดความน้อยใจและถ้าไม่ได้รับการชี้นำแนวทางที่ถูกต้องอาจก่อให้เกิดปัญหาสังคมในภายภาคหน้า กอรปกับอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2546 มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฏหมายองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ต้องทำ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดังนี้ (6) ส่งเสริม พัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และคนพิการ
ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเด็กกำพร้าในตำบลให้ดีขึ้นและครอบคลุมทุกพื้นที่ของตำบลบางเก่า องค์การบริหารส่วนตำบลบางเก่าจึงได้จัดทำโครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ประจำปี 2561 เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและสร้างกำลังใจแก่เด็กกำพร้า ส่งผลให้เด็กกำพร้ามีกำลังใจในการดำเนินชีวิตประจำวันในสังคมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่ออบรมให้ความรู้แก่เด็กกำพร้าให้มีความรู้เรื่อง "การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้านสุขอนามัยของเด็กกำพร้า"
- 2. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับกลุ่มเด็กกำพร้าในตำบลเห็นคุณค่าของชีวิตและพร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไป
- 3. ผู้เข้ารับการอบรมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ก่อให้เกิดความปรองดอง สามัคคีในหมู่เด็กกำพร้า ผู้ดูแล ประชาชนและหน่วยงานที่จัดอบรมในตำบล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
43
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กกำพร้ามีความรู้เรื่องสุขอนามัยด้านการโภชนาการต่าง ๆ และการออกกำลังกาย
2.ผู้เข้าร่วมอบามมีความรู้ในเรื่องการปรับตัวเข้ากับสังคม และมีขวัญกำลังใจเห็นคุณค่าของชีวิตและพร้อมท่ี่จะดำรงชีวิตต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่ออบรมให้ความรู้แก่เด็กกำพร้าให้มีความรู้เรื่อง "การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้านสุขอนามัยของเด็กกำพร้า"
ตัวชี้วัด : เด็กกำพร้ามีความรู้เรื่องสุขอนามัย
0.00
2
2. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับกลุ่มเด็กกำพร้าในตำบลเห็นคุณค่าของชีวิตและพร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไป
ตัวชี้วัด : เด็กกำพร้ามีขวัญและกำลังใจในการดำเนินชีวิต
0.00
3
3. ผู้เข้ารับการอบรมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ก่อให้เกิดความปรองดอง สามัคคีในหมู่เด็กกำพร้า ผู้ดูแล ประชาชนและหน่วยงานที่จัดอบรมในตำบล
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
43
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
43
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่ออบรมให้ความรู้แก่เด็กกำพร้าให้มีความรู้เรื่อง "การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้านสุขอนามัยของเด็กกำพร้า" (2) 2. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับกลุ่มเด็กกำพร้าในตำบลเห็นคุณค่าของชีวิตและพร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไป (3) 3. ผู้เข้ารับการอบรมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ก่อให้เกิดความปรองดอง สามัคคีในหมู่เด็กกำพร้า ผู้ดูแล ประชาชนและหน่วยงานที่จัดอบรมในตำบล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3005-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมัสเตาะ ยามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561 ”
ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมัสเตาะ ยามา
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3005-1-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเก่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3005-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,995.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเก่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 ได้ให้ความหมายของคำว่่าเด็ก หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูณ์ แต่ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรสและคำว่า "เด็กกำพร้า" หมายความว่าเด็กที่บิดาหรือมารดาเสียชีวิต เด็กที่ไม่ปรากฏบิดาหรือมารดาหรือไม่สามารถสืบหาบิดหรือมารดาได้โดยพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 มีหลักการสำคัญคือ การระดมทรัพยากรทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมดูแล ปกป้อง คุ้มครองเด็ก เพื่อประโยชน์สุูงสุดของเด็ก และส่งเสริมหน้าที่ความรับผิดชอบของครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน ในการร่วมมือกันคุ้มครองเด็ก โดยในมาตรา 23 กล่าวคือ "ผู้ปกครองต้องให้การอุปการะเลี้ยงดูอบรมสั่งสอนและพัฒนาเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของตนตามสมควรแก่ขนบธรรมเนีียมประเพณีและวัฒนธรรมแห่งท้องถิ่นแต่ทั้งนี้ต้องไม่ต่ำกว่ามาตรฐานขั้นต่ำตามที่กำหนดในกฏกระทรวงและต้องคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของตนมิให้ตกอยู่ในภาวะอันน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใ ดยเด็กต้องอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนและสังคมต้องได้รับการเลี้ยงดูให้มีสุขภาพที่ดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ รวมถึงได้เรียนรู้ด้านจริยธรรม
ด้วยสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันของประเทศไทยต้องเกิดการชะลอตัว ค่าครองชีพ เครื่องอุปโภคบริโภคมีราคาสูงรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายทำให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่เด็กกำพร้า ทำให้เด็กกำพร้าขาดโอกาสในการออกมาทำกิจกรรมในตำบล บางรายอาจเกิดความน้อยใจและถ้าไม่ได้รับการชี้นำแนวทางที่ถูกต้องอาจก่อให้เกิดปัญหาสังคมในภายภาคหน้า กอรปกับอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2546 มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฏหมายองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ต้องทำ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดังนี้ (6) ส่งเสริม พัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และคนพิการ
ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเด็กกำพร้าในตำบลให้ดีขึ้นและครอบคลุมทุกพื้นที่ของตำบลบางเก่า องค์การบริหารส่วนตำบลบางเก่าจึงได้จัดทำโครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ประจำปี 2561 เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและสร้างกำลังใจแก่เด็กกำพร้า ส่งผลให้เด็กกำพร้ามีกำลังใจในการดำเนินชีวิตประจำวันในสังคมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่ออบรมให้ความรู้แก่เด็กกำพร้าให้มีความรู้เรื่อง "การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้านสุขอนามัยของเด็กกำพร้า"
- 2. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับกลุ่มเด็กกำพร้าในตำบลเห็นคุณค่าของชีวิตและพร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไป
- 3. ผู้เข้ารับการอบรมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ก่อให้เกิดความปรองดอง สามัคคีในหมู่เด็กกำพร้า ผู้ดูแล ประชาชนและหน่วยงานที่จัดอบรมในตำบล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 43 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กกำพร้ามีความรู้เรื่องสุขอนามัยด้านการโภชนาการต่าง ๆ และการออกกำลังกาย 2.ผู้เข้าร่วมอบามมีความรู้ในเรื่องการปรับตัวเข้ากับสังคม และมีขวัญกำลังใจเห็นคุณค่าของชีวิตและพร้อมท่ี่จะดำรงชีวิตต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่ออบรมให้ความรู้แก่เด็กกำพร้าให้มีความรู้เรื่อง "การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้านสุขอนามัยของเด็กกำพร้า" ตัวชี้วัด : เด็กกำพร้ามีความรู้เรื่องสุขอนามัย |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับกลุ่มเด็กกำพร้าในตำบลเห็นคุณค่าของชีวิตและพร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไป ตัวชี้วัด : เด็กกำพร้ามีขวัญและกำลังใจในการดำเนินชีวิต |
0.00 |
|
||
3 | 3. ผู้เข้ารับการอบรมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ก่อให้เกิดความปรองดอง สามัคคีในหมู่เด็กกำพร้า ผู้ดูแล ประชาชนและหน่วยงานที่จัดอบรมในตำบล ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 43 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 43 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่ออบรมให้ความรู้แก่เด็กกำพร้าให้มีความรู้เรื่อง "การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้านสุขอนามัยของเด็กกำพร้า" (2) 2. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับกลุ่มเด็กกำพร้าในตำบลเห็นคุณค่าของชีวิตและพร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไป (3) 3. ผู้เข้ารับการอบรมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ก่อให้เกิดความปรองดอง สามัคคีในหมู่เด็กกำพร้า ผู้ดูแล ประชาชนและหน่วยงานที่จัดอบรมในตำบล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กกำพร้า สุขภาพใจ สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2561 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3005-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมัสเตาะ ยามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......