กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน


“ โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2561 ”

ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอัษรตรี พงศ์นุรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L7573-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L7573-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ของโรคที่มีแนวโน้มทึ่จะทวีความรุนแรงมากขึ้นและมีแนวโน้อมที่จะส่งผลความเสียหายที่รุนแรงต่อเศรษฐกิจในภาพรวมจากการคัดกรองเบาหวานความดันของตำบลควนขนุนย้อนหลัง 5 ปี ปีงบประมาณ 2556-2560 พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 513,541,754,829,831, ราย ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยงความดัน 1,057,1,057,1,083,1,135,1,137 ราย ตามลำดับ จากการวิเคราะห์พบว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีแนวโน้อมเพิ่มขึ้นทุกปี และกลุ่มเสี่ยงความดันมีแนวโน้อมเพิ่มขึ้นจากข้อมูลย้อนหลัง 4 ปี แต่ลดลงในปี 2560เนื่องจากวิถีชีวิตของประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพชุมชนที่เปลี่ยนไปส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพที่ลดลง ศูนย์แพทย์ชุมชน เทศบาลตำบลควนขนุนได้เล็งเห็นปัญหาและได้จัดทำโครงการ "ลหพฤติกรรมเสี่ยงเลี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง"โดยการเสริมสร้างสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานด้วยตนเองโดยการดำเนินกิจกรรม เพื่อให้มีการปรับเปลี่ยนแบบแผนการดำเนินชีวิต และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์คาดว่าเมื่อดำเนินการตามโครงการไปแล้วประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐาน ลดพฤติกรรมเสี่งต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความห่วงใยต่อสุขภาพตนเองและสมาชิกในครอบครัวรวมทั้งมีการปรับพฤติกรรมต่อสุขภาพไปในทางที่พึงประสงค์อย่างถาวรอันส่งผลให้มีการเข้าถึงสุขภาวะที่แท้จริงของประชาชนมุ่งให้เกิดการพึ่งตนเองทางสุขภาพเป็นหลัก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ เกิดการเรียนรู้และมีทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. คือ อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์
  2. 2.เพื่อให้ป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง โดยลดน้ำตาลและระดับความดันโลหิตสูงให้อยู่ในระดับปกติหรือใกล้เคียงปกติที่สุด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประเมินความรู้ และประเมินพฤติกรรม 3 อ.
  2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้
  3. ติดตามพฤติกรรมสุขภาพและสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถลดความเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวานและความดันได้ร้อยละ 60 2.อัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงไม่เกินร้อยละ 5


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 ประเมินความรู้ และประเมินพฤติกรรม 3 อ.

วันที่ 18 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยง 2.ชี้แจงสถานการณ์/คืนข้อมูลเรื้อรัง ข้อมูลการคัดกรอง ให้กับชุมชน 3.ตรวจร่างกาย (วัดดัชนีมวลกาย วัดรอบเอว ระดับความดันโลหิตสูง) 4.ประเมินความรู้ การปฏิบัติตัว และพฤติกรรมสุขภาพ 5.ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการตามฐานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ.
6.ให้ความรู้ผ่านหอกระจายข่าว วิทยุชถมชน แผ่นพับ สมุดบันทึกสุขภาพกลุ่มเสี่ยง 7.ตั้งเป้าหมายการปรับเปลี่นยพฤติกรรม 8.สร้างข้อตกลงการนัดและจัดกิจกรรมต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพดีเพิ่มขึ้น

 

52 0

2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 2 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ตรวจร่างกาย (ดัชนีมวลกาย วัดรอบเอว วัดระดับน้ำตาลในเลือด) 2.แลกเปลี่ยนประสบการรณ์ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร  การออกกำลังกาย  การดูแลจิตใจ 3.สรุปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันดันโลหิตสูงได้ร้อยละ60 และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดให้บุคคลใกล้เคียงได้ปฏิบัติตามเพื่อสุขภาพที่ดีของทุกคน

 

52 0

3. ติดตามพฤติกรรมสุขภาพและสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 14 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ตรวจร่างกาย (ดัชนีมวลกาย รอบเอว ระดับความดันโลหิตสูง ระดับน้ำตาลในเลือด) 2.สรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ 52 คน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้าน 3 อ. และคะแนนพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น จำนวน 43 ราย คิดเป็นร้อยละ 82.69     -พฤติกรรมสุขภาพระดับดีจำนวน 25 คน  คิดเป็นร้อยละ 46.15     -พฤติกรรมสุขภาพระดับปานกลางจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15     -พฤติกรรมควรปรับปรุงให้ดีขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7
2.กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดระดับน้ำตาลได้ จำนวน 31 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.62 3.กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดระดับความดันได้ จำนวน 24 ราย  คิดเป็นร้อยละ 46.15 4.กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินน้ำหนักและวัดรอบเอว  จำนวน 52 ราย     -ลดน้ำหนักได้ จำนวน 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 32.69     -น้ำหนักคงที่ จำนวน 24 ราย  คิดเป็นร้อยละ 46.15     -น้ำหนักเพิ่มขึ้น จำนวน  11 ราย  คิดเป็นร้อยละ 21.54 สรุปภาวะโภชนาการของผู้เข้าร่วมโครงการ     -ลดรอบเอวได้ จำนวน 19 ราย คิดเป็นร้อยละ 36.54     -รอบเอวคงที่ จำนวน 27 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.92     -รอบเอวเพิ่มขึ้น จำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.54 สรุปภาวะอ้วนลงพุงของผู้เข้าร่วมโครงการ     -ปกติ  จำนวน  15  ราย  คิดเป็นร้อยละ  28.8     -อ้วนลงพุง  จำนวน  37  ราย  คิดเป็นร้อยละ  71.2 6.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงปี 2560  จำนวน  239  ราย  เป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ปี 2561  จำนวน  20  ราย  คิดเป็นร้อยละ  8.37 7.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานปี 2560  จำนวน  182  ราย  เป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ปี 2561  จำนวน  5  ราย  คิดเป็นร้อยละ 2.75

 

52 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ เกิดการเรียนรู้และมีทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. คือ อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนนพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มขึ้น
60.00

 

2 2.เพื่อให้ป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง โดยลดน้ำตาลและระดับความดันโลหิตสูงให้อยู่ในระดับปกติหรือใกล้เคียงปกติที่สุด
ตัวชี้วัด : 1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันได้ร้อยละ 60 2.อัตราการเกิดเบาหวานใหม่ไม่เกินร้อยละ 5
40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ เกิดการเรียนรู้และมีทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. คือ อาหาร  ออกกำลังกาย และอารมณ์ (2) 2.เพื่อให้ป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง  โดยลดน้ำตาลและระดับความดันโลหิตสูงให้อยู่ในระดับปกติหรือใกล้เคียงปกติที่สุด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประเมินความรู้ และประเมินพฤติกรรม 3 อ. (2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (3) ติดตามพฤติกรรมสุขภาพและสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L7573-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอัษรตรี พงศ์นุรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด