โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางวัชรี บินสอาด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5307-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5307-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรัง ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลก ถึงแม้ว่าจะมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ แต่ความชุกและอุบัติการณ์ กลับเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งในชุมชนเมืองและในชนบทอีกทั้งผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรังนั้น ถ้ามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม จะเกิดภาวะแทรกซ้อน ทั้งทางตา ไต เท้า สมอง หัวใจหรืออาจหมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง หมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ติดเชื้อง่าย หลอดเลือดตีบหรือแตกในสมอง ทำให้เป็นอัมพาตได้ ผลกระทบของผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรังมีทั้งกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว คือ จะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆในการรักษาพยาบาล รวมทั้งสูญเสียอวัยวะ และความพิการซึ่งเกิดขึ้นได้มากกว่าคนปกติ รวมทั้งมีผลกระทบถึงสภาพจิตใจด้วย นอกจากนี้ผลเสียทางอ้อมอันเกิดจากภาวะแทรกซ้อนและการมีพยาธิสภาพ ทำให้เกิดความพิการหรือไร้สมรรถภาพ เช่น ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ขาดรายได้จากการทำงาน สมรรถภาพในการทำงานลดลง การสูญเสียทรัพยากรบุคคลและอาจมีอายุสั้นกว่าปกติถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ อีกทั้งรัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการนำเข้าเวชภัณฑ์จากต่างประเทศ และค่าใช้จ่ายในด้านอุปกรณ์การตรวจ ดังนั้นการควบคุมป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งการควบคุมการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังนั้นต้องประกอบไปด้วยการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย การผ่อนคลายอารมณ์เครียดและการใช้ยาร่วมด้วยซึ่งถ้าผู้ป่วยรู้จักปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมแล้ว ก็จะทำให้สามารถควบคุมโรคและลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้
จากข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนย้อนหลัง๓ปีตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙พบว่า ในเขตรับผิดชอบหมู่ที่ ๒,๓,๕,๖ และ ๗มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนทางด้านสมอง ส่งผลให้เกิดอัมพฤกษ์อัมพาตตามมา จำนวน ๙,๑๐ และ๑๑ คน ตามลำดับ ภาวะเบาหวานขึ้นตา จำนวน ๐,๓,๓ คน ตามลำดับ และมีแผลที่เท้า จำนวน ๑,๑,๓ คน ตามลำดับ ภาวะไตวายเรื้อรังระดับ ๔ ขึ้นไป จำนวน ๘,๘ และ ๑๐ คน ตามลำดับจากจำนวนดังกล่าว ทำให้เห็นถึงแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ดังนั้น รพ.สต.ตำบลบ้านควน จึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อนปี๒๕๖๐ขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ สามารถนำความรู้ที่ได้ ไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน สามารถเฝ้าระวัง ควบคุมพฤติกรรมต่างๆที่ส่งผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ก็จะส่งผลให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังห่างไกลจากภาวะแทรกซ้อนและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลป้องกันเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
- ๒. เพื่อค้นหาคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
271
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนครบทุกรายและในรายที่มีปัญหาภาวะแทรกซ้อนจะต้องได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง รวดเร็ว
๒. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง อาการการดูแลรักษาและการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังได้ถูกต้องเหมาะสม
๓.การเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้องรังมีแนวโน้มลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้ และคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
วันที่ 16 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถตอบคำถามย้อนกลับได้ ร้อยละ 90
2.มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน เกิดแผลที่เท้า จำนวน 1 ราย
271
271
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้
1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถตอบคำถามย้อนกลับได้ ร้อยละ 90
2.มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน เกิดแผลที่เท้า จำนวน 1 ราย
กิจกรรมค้ดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
1.ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
- ตรวจเท้า จำนวน 98 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
- ตรวจตา จำนวน 48 ราย คิดเป็นร้อยละ 48.97
- ตรวจไต จำนวน 60 ราย คิดเป็นร้อยละ 61.22
- ประเมินภาวะซึมเศร้า จำนวน 98 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
- ตรวจฟัน จำนวน 98 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
2.ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ดังนี้
- ประเมินภาวะซึมเศร้า จำนวน 295 คิดเป็นร้อยละ 100
สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้
การสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ยังเป็นเรื่องยากสำหรับผู้ป่วยหลายๆ คน เพราะผู้ป่วยยังมองว่า ตัวเองยังสบายดี ไม่มีโรคแทรกซ้อน ไม่กลัว และการตาย เป็นเรื่องที่พระเจ้ากำหนดไว้แล้ว เลยขาดความตระหนักในเรื่องของการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นได้ อีกส่วนหนึ่งผู้ป่วยที่เป็นผู้สูงอายุ ขาดผู้ดูแล ขาดการเอาใจใส่ ขาดการเฝ้าระวัง ปัญหาทั้งหมดนี้ เป็นปัญหาที่แก้ยาก เพราะจะทำให้สำเร็จได้ ต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ป่วยเอง ครอบครัวหรือผู้ดูแล
สิ่งที่ประทับใจ
ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจ ตั้งใจ มีการถามตอบข้อสงสัย ให้ความร่วมมือในทุกกิจกรรม
ปัญหาอุปสรรค
- เรื่องภาษา เนื่องจาก ผู้เข้าร่วมโครงการ บางคนพูดมลายู ฟังภาษาไทยไม่เข้าใจ ทำให้เกิดการติดขัดในการสื่อสาร
- แกนนำ อสม. คลินิกโรคเรื้อรัง ยังขาดความมั่นใจ ในการทำกิจกรรมร่วมกับผู้ป่วย
แนวทางการแก้ไข
- ให้ จนท.ที่สามารถพูดมลายูได้ และแกนนำ อสม. เข้ามาช่วยเหลือ คอยอธิบายทำความเข้าใจ
- พัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.คลินิกฌรคเรื้อรัง เพิ่มความรู้ สร้างความมั่นใจให้แกนนำ เพื่อเป็นแกนนำหลักสามารถให้ความรู้เรื่อง 3อ2ส. ให้กับผู้ป่วยและคนในชุมชนได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลป้องกันเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจ สามารถตอบคำถามย้อนกลับได้ ร้อยละ ๙๐
2
๒. เพื่อค้นหาคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : - ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ ๑๐๐
- ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นจากเดิม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
271
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
271
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลป้องกันเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม (2) ๒. เพื่อค้นหาคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5307-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวัชรี บินสอาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางวัชรี บินสอาด
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5307-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5307-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรัง ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลก ถึงแม้ว่าจะมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ แต่ความชุกและอุบัติการณ์ กลับเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งในชุมชนเมืองและในชนบทอีกทั้งผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรังนั้น ถ้ามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม จะเกิดภาวะแทรกซ้อน ทั้งทางตา ไต เท้า สมอง หัวใจหรืออาจหมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง หมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ติดเชื้อง่าย หลอดเลือดตีบหรือแตกในสมอง ทำให้เป็นอัมพาตได้ ผลกระทบของผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรังมีทั้งกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว คือ จะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆในการรักษาพยาบาล รวมทั้งสูญเสียอวัยวะ และความพิการซึ่งเกิดขึ้นได้มากกว่าคนปกติ รวมทั้งมีผลกระทบถึงสภาพจิตใจด้วย นอกจากนี้ผลเสียทางอ้อมอันเกิดจากภาวะแทรกซ้อนและการมีพยาธิสภาพ ทำให้เกิดความพิการหรือไร้สมรรถภาพ เช่น ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ขาดรายได้จากการทำงาน สมรรถภาพในการทำงานลดลง การสูญเสียทรัพยากรบุคคลและอาจมีอายุสั้นกว่าปกติถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ อีกทั้งรัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการนำเข้าเวชภัณฑ์จากต่างประเทศ และค่าใช้จ่ายในด้านอุปกรณ์การตรวจ ดังนั้นการควบคุมป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งการควบคุมการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังนั้นต้องประกอบไปด้วยการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย การผ่อนคลายอารมณ์เครียดและการใช้ยาร่วมด้วยซึ่งถ้าผู้ป่วยรู้จักปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมแล้ว ก็จะทำให้สามารถควบคุมโรคและลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้
จากข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนย้อนหลัง๓ปีตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙พบว่า ในเขตรับผิดชอบหมู่ที่ ๒,๓,๕,๖ และ ๗มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนทางด้านสมอง ส่งผลให้เกิดอัมพฤกษ์อัมพาตตามมา จำนวน ๙,๑๐ และ๑๑ คน ตามลำดับ ภาวะเบาหวานขึ้นตา จำนวน ๐,๓,๓ คน ตามลำดับ และมีแผลที่เท้า จำนวน ๑,๑,๓ คน ตามลำดับ ภาวะไตวายเรื้อรังระดับ ๔ ขึ้นไป จำนวน ๘,๘ และ ๑๐ คน ตามลำดับจากจำนวนดังกล่าว ทำให้เห็นถึงแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ดังนั้น รพ.สต.ตำบลบ้านควน จึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อนปี๒๕๖๐ขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ สามารถนำความรู้ที่ได้ ไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน สามารถเฝ้าระวัง ควบคุมพฤติกรรมต่างๆที่ส่งผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ก็จะส่งผลให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังห่างไกลจากภาวะแทรกซ้อนและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลป้องกันเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
- ๒. เพื่อค้นหาคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 271 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนครบทุกรายและในรายที่มีปัญหาภาวะแทรกซ้อนจะต้องได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ๒. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง อาการการดูแลรักษาและการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังได้ถูกต้องเหมาะสม ๓.การเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้องรังมีแนวโน้มลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ และคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถตอบคำถามย้อนกลับได้ ร้อยละ 90
|
271 | 271 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้
1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถตอบคำถามย้อนกลับได้ ร้อยละ 90
2.มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน เกิดแผลที่เท้า จำนวน 1 ราย
กิจกรรมค้ดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
1.ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
- ตรวจเท้า จำนวน 98 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
- ตรวจตา จำนวน 48 ราย คิดเป็นร้อยละ 48.97
- ตรวจไต จำนวน 60 ราย คิดเป็นร้อยละ 61.22
- ประเมินภาวะซึมเศร้า จำนวน 98 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
- ตรวจฟัน จำนวน 98 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
2.ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ดังนี้
- ประเมินภาวะซึมเศร้า จำนวน 295 คิดเป็นร้อยละ 100
สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้
การสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ยังเป็นเรื่องยากสำหรับผู้ป่วยหลายๆ คน เพราะผู้ป่วยยังมองว่า ตัวเองยังสบายดี ไม่มีโรคแทรกซ้อน ไม่กลัว และการตาย เป็นเรื่องที่พระเจ้ากำหนดไว้แล้ว เลยขาดความตระหนักในเรื่องของการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นได้ อีกส่วนหนึ่งผู้ป่วยที่เป็นผู้สูงอายุ ขาดผู้ดูแล ขาดการเอาใจใส่ ขาดการเฝ้าระวัง ปัญหาทั้งหมดนี้ เป็นปัญหาที่แก้ยาก เพราะจะทำให้สำเร็จได้ ต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ป่วยเอง ครอบครัวหรือผู้ดูแล
สิ่งที่ประทับใจ
ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจ ตั้งใจ มีการถามตอบข้อสงสัย ให้ความร่วมมือในทุกกิจกรรม
ปัญหาอุปสรรค
- เรื่องภาษา เนื่องจาก ผู้เข้าร่วมโครงการ บางคนพูดมลายู ฟังภาษาไทยไม่เข้าใจ ทำให้เกิดการติดขัดในการสื่อสาร
- แกนนำ อสม. คลินิกโรคเรื้อรัง ยังขาดความมั่นใจ ในการทำกิจกรรมร่วมกับผู้ป่วย
แนวทางการแก้ไข
- ให้ จนท.ที่สามารถพูดมลายูได้ และแกนนำ อสม. เข้ามาช่วยเหลือ คอยอธิบายทำความเข้าใจ
- พัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.คลินิกฌรคเรื้อรัง เพิ่มความรู้ สร้างความมั่นใจให้แกนนำ เพื่อเป็นแกนนำหลักสามารถให้ความรู้เรื่อง 3อ2ส. ให้กับผู้ป่วยและคนในชุมชนได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลป้องกันเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจ สามารถตอบคำถามย้อนกลับได้ ร้อยละ ๙๐ |
|
|||
2 | ๒. เพื่อค้นหาคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด : - ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ ๑๐๐ - ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นจากเดิม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 271 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 271 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลป้องกันเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม (2) ๒. เพื่อค้นหาคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2560 รพสต.บ้านควน 1 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5307-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวัชรี บินสอาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......