กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน ”
ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายปฐม บัวอินทร์




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7257-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2561-L7257-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ช่วงเวลาที่ผ่านมาในระยะที่ไม่นานเท่าใดนัก เมื่อพิจารณาให้ถี่ถ้วนจะพบว่าอัตราการป่วยการตายของคนไทยมีสาเหตุสำคัญเกิดจากโรคภัยที่เป็นผลมาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทั้งสิ้น ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้อาจเรียกว่าพฤติกรรมเสี่ยงก็ว่าได้ พฤติกรรมดังกล่าวอาจเกิดขึ้นได้หลายสถานการณ์ เช่น การอุปโภคบริโภค การพบปะสังสรรค์(interaction)ในกลุ่มมนุษย์ การขับขี่ยานพาหนะที่ไม่ปลอดภัย เป็นต้น การขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนนที่ไม่ปลอดภัยส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นนั้นนับเป็นความสูญเสียอย่างรุนแรง ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ทั้งนี้มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลสงกรานต์ และเทศกาลปีใหม่ มีการเกิดอุบัติเหตุในแต่ละปีเป็นจำนวนมา อุบัติเหตุเหล่านี้มักมีสาเหตุมาจากปัจจัยด้วยกัน ได้แก่ 1.ปัจจัยด้านพฤติกรรมด้านผู้ขับขี่ 2.ปัจจัยด้านรถหรือยานพาหนะ 3.ปัจจัยด้านถนนและสิ่งแวดล้อม 4.ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ
อุบัติเหตุที่เป็นผลมาจากปัจจัยที่ง 4 ข้างต้นนี้ เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นแล้วย่อมส่งผลให้เกิดความเสียหายขึ้นไม่ว่าจะเป็นความเสียหายที่ตีค่าเป็นตัวเงินหรือความเสียหายที่ไม่อาจตีค่าเป็นตัวเงินได้ จากความสูญเสียดังกล่าวนับว่าเป็นภัยอย่างร้ายแรงที่จะส่งผลเสียหายต่อส่งผลเสียหายต่อสังคมในภาพรวม ซึ่งรัฐบาลในยุคที่ผ่านมาจวบจนถึงรัฐบาลในยุคปัจจุบันได้เล็งเห็นความสำคัญที่จะทำการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนมิให้เกิดขึ้นหรือให้เกิดขึ้นได้ในจำนวนน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ ดังที่ปรากฏตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2553 เรื่อง เห็นชอบให้ปี 2554 - 2563 เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน รัฐบาลได้จัดตั้งศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัด และ อำเภอ โดยเน้นการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสำคัญเป็นหลัก ด้วยมาตรการต่างๆ ที่ภาครัฐพยายามคิดรูปแบบและนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม แต่เมื่อพิจารณาถึงจำนวนสถิติที่ผ่านมากลับพบว่าจำนวนอุบัติเหตุบนท้องถนนก็ยังเกิดขึ้นให้เห็น โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลสำคัญ ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถใช้ถนนมากกว่าปกติ ทั้งนี้เมื่อพิจารณาแล้ว การดำเนินการโดยภาครัฐแต่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอ ในยุคปัจจุบันควรที่จะคิดรูปแบบอื่นๆ โดยเฉพาะการนำภาคประชาชนในท้องถิ่นที่มีคามพร้อมหรือมีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันอุบัติเหตุ อีกทางหนึ่ง ดังนั้น ฝ่ายป้องกันและรักษาความสงบ สำนักปลัดเทศบาลเมืองคอหงส์ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนในเขตชุมชนเทศบาลเมืองคอหงส์ จากอดีตที่ผ่านมาอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในพื้นที่เทศบาลมีจำนวนไม่น้อยซึ่งจากสถิติที่หน่วยปฏิบัติการงานกู้ชีพกู้ภัยคอหงส์ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการช่วยเหลือผู้ประสบภัยบนท้องถนนในเขตรับผิดชบอในชุมชนบ้านทุ่งรี บ้านทุ่งโดนและบริเวณข้างเคียงตามสถิติข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุในปี 2560 สรุปได้ดังนี้ ข้อมูลในรอบปี 2560 จำนวนที่เกิดอุบัติเหตุ/ครั้ง เสียชีวิต/ราย มกราคม 22 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต กุมภาพันธ์ 9 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต มีนาคม 8 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต เมษายน 19 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต พฤษภาคม 9 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต มิถุนายน 19 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต กรกฎาคม 14 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต สิงหาคม 12 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต กันยายน 39 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต ตุลาคม 19 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต พฤศจิกายน 13 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต ธันวาคม 8 ครั้ง ไม่มีผู้เสียชีวิต ข้อมูลอุบัติเหตุในรอบปี 2560 จำนวน 191 ครั้ง คิดเป็นเปอร์เซนต์ 100%
ข้อมูลอุบัติเหตุในปี 2561 ในโครงการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน ให้ลดลง 2% ในปี 2561 ต้องไม่เกิน 181 รายและไม่มีผู้เสียชีวิตในพื้นที่ (คงสภาพเดิมไว้)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน ในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ ลดลง
  2. 2 เกิดพื้นที่ต้นแบบ (นำร่อง) นวัตกรรม การดำเนินการป้องกันและแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนโดยประชาชนในชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่
  3. 3 ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย 4 เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่ 4.1 เพื่อเป็นพื้นที่ต้นแบบ (นำร่อง) ในการสร้างนวัตกรรมด้านการดำเนินการป้องกันและการแก้ไขอบัติเหตุทางถนน ดดยประชากรในชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่มีส่วนร่วม 4.2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย 4.3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่โดยหน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่สมาชิกและผู้เข้าร่วมโครงการเดินรณรงค์ในชุมชนพร้อมป้ายประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ 2 เพื่่อเป็นพื้นที่ต้นแบบ (นำร่อง) เกิดนวัตกรรมในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ดดยประชาชนในชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่่ 3 ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย 4 เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่สมาชิกและผู้เข้าร่วมโครงการเดินรณรงค์ในชุมชนพร้อมป้ายประชาสัมพันธ์

วันที่ 26 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • บรรยายให้ความรู้เรื่องพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ โดย คุณลมล  เพ็งแก้ว ตำแหน่งผู้จัดการบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถจำกัด
  • บรรยายให้ความรู้เรื่องขับขี่ปลอดภัย โดยคุณไพรัตน์  เครื่องกล ตำแหน่ง นายช่างเครื่องกลชำนาญงาน
  • บรรยายให้ความรู้เรื่องกฎหมายจราจรทางบก โดยดาบตำรวจสมบูรณ์  ภักดี ตำแหน่งผู้บังคับหมู่งานป้องกันและปราบปรามช่วบงานตำรวจจราจร สภ.คอหงส์
  • รับมอบหมวกนิรภัย จาก Central Group และส่งมอบต่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสัมมนารับมอบ หมวกนิรภัย
  • กิจกรรมเดินรณรงค์ขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ โดยงานจราจร สภ.คอหงส์ นักเรียน นักศึกษา ผู้นำเครื่อข่ายและชาวบ้านในชุมชนของเทศบาลเมืองคอหงส์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑ ลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ ๒ ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย ๓ เกิดภาคีเครื่อข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน ในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ ลดลง
ตัวชี้วัด : 1 อุบัติเหตุลดลง 10% ข้อมูลปี 2560 จำนวน 191 ครั้ง ในปี 2561 ให้ลดลงไม่เกิน 181 ครั้ง 2 การบาดเจ็บลดลง 10% ในปี 2560 จำนวน 191 ราย ในปี 2561 ให้ลดลงไม่เกิน 181 ราย 3 ไม่มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุในปี 2560 หรือไม่มีผู้เสียชีวิตในปี 2561 คงสภาพเดิม
0.00

 

2 2 เกิดพื้นที่ต้นแบบ (นำร่อง) นวัตกรรม การดำเนินการป้องกันและแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนโดยประชาชนในชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1 คนขับและคนซ้อนท้ายสวมหมวกนิรภัย 100% 2 การเชิญชวนให้ประชาชนรวมกันสวมหมวกนิรภัย 100%
0.00

 

3 3 ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย 4 เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่ 4.1 เพื่อเป็นพื้นที่ต้นแบบ (นำร่อง) ในการสร้างนวัตกรรมด้านการดำเนินการป้องกันและการแก้ไขอบัติเหตุทางถนน ดดยประชากรในชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่มีส่วนร่วม 4.2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย 4.3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่โดยหน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุน
ตัวชี้วัด : 1 ประชาชนผู้ใช้เส้นทางมีความปลอดภัยไม่น้อยกว่า 100% 2 อุบัติเหตุลดลง 3 สวมหมวกนิรภัย100% 4 การมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน ในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ ลดลง (2) 2 เกิดพื้นที่ต้นแบบ (นำร่อง) นวัตกรรม การดำเนินการป้องกันและแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนโดยประชาชนในชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ (3) 3 ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย 4 เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่ 4.1 เพื่อเป็นพื้นที่ต้นแบบ (นำร่อง) ในการสร้างนวัตกรรมด้านการดำเนินการป้องกันและการแก้ไขอบัติเหตุทางถนน ดดยประชากรในชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่มีส่วนร่วม 4.2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย 4.3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่โดยหน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่สมาชิกและผู้เข้าร่วมโครงการเดินรณรงค์ในชุมชนพร้อมป้ายประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7257-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปฐม บัวอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด