กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการขยะนี้มีคุณค่าสร้างสรรค์ปัญญาชาวเสนา ”
ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางพิศพร บุญตามช่วย




ชื่อโครงการ โครงการขยะนี้มีคุณค่าสร้างสรรค์ปัญญาชาวเสนา

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7257-3-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขยะนี้มีคุณค่าสร้างสรรค์ปัญญาชาวเสนา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขยะนี้มีคุณค่าสร้างสรรค์ปัญญาชาวเสนา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขยะนี้มีคุณค่าสร้างสรรค์ปัญญาชาวเสนา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2561-L7257-3-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,840.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีพระชนมพรรษา 60 พรรษาในฐานะที่โรงเรียนเสนาณรงค์วิทยา(กองทัพบกอุปถัมภ์)เป็นหน่วยงานทางการศึกษา ที่บ่มเพาะนิสัยเยาวชนในสังคมให้มีจิตสำนึกรักษาสิ่งแวดล้อมและรักบ้านเกิด เพื่อให้เกิดการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะภายในสถานศึกษา ให้มีความยั่งยืน ครบวงจรและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
โรงเรียนเสนาณรงค์วิทยา(กองทัพบกอุปถัมภ์)คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาคณะกรรมการสภานักเรียนร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเสนาณรงค์วิทยา(กองทัพบกอุปถัมภ์)ได้ร่วมกันคิดเพื่อวางแผนบริหารจัดการขยะ ปรับภูมิทัศน์ และการอนุรักษ์พลังงาน จึงได้นำทฤษฏี ด้าน 1A3Rs มาประยุกต์ใช้ในการกำจัดขยะได้แก่ Aviod -หลีกเลี่ยงReduce - ลดการใช้,Reuse - ใช้ซ้ำ, Recycle - นำมาใช้ใหม่ให้เข้ากับระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของสถานศึกษา โดยเป้าหมายสูงสุดของยุทธศาสตร์ 3Rs ได้แก่ การส่งเสริมให้มีการลด คัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยให้ได้มากที่สุดก่อนการกำจัดทิ้งในขั้นสุดท้าย ได้แก่ ลดการเกิดขยะมูลฝอย(Waste Reduction) มีการคัดแยกและการนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ (Waste Recovery)ให้เพิ่มมากขึ้น ในแต่ละรูปแบบ เช่น การคัดแยกและนำกลับคืนขยะรีไซเคิล(Material Recovery)ในชุมชน การใช้ประโยชน์วัสดุรีไซเคิลแต่ละประเภทในรูปแบบการใช้ซ้ำ(Reuse)และการแปรรูปใหม่(Recycle)รวมทั้งการใช้ประโยชน์ขยะอินทรีย์(Biodegradable Recovery)ในรูปแบบของปุ๋ยหมัก(Composting)และการใช้ประโยชน์ขยะด้านพลังงาน(EnergyRecovery) ของเศษวัสดุเหลือใช้อื่นๆ ดังนั้น แนวทางหนึ่งในการลดปัญหาและเพื่อให้บริเวณโรงเรียนสะอาดปลอดขยะ คือการลดปริมาณขยะมูลฝอยให้เหลือศูนย์ไปสู่การกำจัดน้อยที่สุดซึ่งในการดำเนินโครงการนี้จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคประชาชน ในการที่จะสร้างความเข้าใจและถ่ายทอดองค์ความรู้ ตลอดจนการกำหนดแนวทางร่วมสร้าง “ต้นแบบ”เพื่อให้มีระบบการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพและมีสภาพแวดล้อมที่ดีที่ยั่งยืนต่อไป ดังนั้นทางโรงเรียนเสนาณรงค์วิทยา(กองทัพบกอุปถัมภ์)จึงคิดแก้ไขปัญหาให้ได้ผลระยะยาวนั้นจึงเริ่มจากจุดเล็กๆ ก่อน ด้วยการปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีในเรื่องการทิ้งขยะให้กับนักเรียนให้นักเรียนเห็นความสำคัญและประโยชน์ของการคัดแยกขยะ โดยอาจจะเริ่มจากภายในห้องเรียนก่อน เมื่อนักเรียนรู้จักแยกขยะและทิ้งขยะให้เป็นที่เป็นทางแล้วก็จะทำให้ห้องเรียนสะอาดหลังจากนั้นลงสู่บรรยากาศของโรงเรียนทำให้บรรยากาศห้องโรงเรียนดูสะอาดสะอ้าน มีบรรยากาศที่เหมาะสมแก่การเรียนรู้ นำขยะบางอย่างมาสร้างเป็นมูลค่าเพิ่มและเมื่อเริ่มต้นจากในโรงเรียนได้ผลดีแล้วก็สามารถขยายผลไปยังชุมชนและประเทศชาติต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ 4 ประเภทได้(ขยะทั่วไป ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย) ข้อที่ 2ส่งเสริมกิจกรรม 1 A 3 Rs ลดขยะในสถานศึกษาและนำขยะไปสร้างมูลค่าเพิ่ม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนโรงเรียนเสนาณรงค์วิทยา(กองทัพบกอุปถัมภ์)มีจิตสำนึกในเรื่องการคัดแยกขยะ และสามารถคัดแยกขยะก่อนทิ้งได้อย่างถูกต้อง
    2. นักเรียนโรงเรียนเสนาณรงค์วิทยา(กองทัพบกอุปถัมภ์)มีความรู้เรื่องการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี
    3. นักเรียนโรงเรียนเสนาณรงค์วิทยา(กองทัพบกอุปถัมภ์)มีความรู้เรื่องการรีไซเคิลขยะ และสามารถนำขยะมารีไซเคิลสร้างเป็นมูลค่าเพิ่มได้
    4. นักเรียนโรงเรียนเสนาณรงค์วิทยา(กองทัพบกอุปถัมภ์)รับรู้ถึงปัญหาเรื่องขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งบอกแนวทาง การปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาได้
    5. โรงเรียนสะอาดสภาพบรรยากาศเหมาะแก่การเรียนรู้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ 4 ประเภทได้(ขยะทั่วไป ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย) ข้อที่ 2ส่งเสริมกิจกรรม 1 A 3 Rs ลดขยะในสถานศึกษาและนำขยะไปสร้างมูลค่าเพิ่ม
    ตัวชี้วัด : 1ร้อยละของนักเรียน ครู และบุคลากร ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการคัดแยกขยะ 2.ร้อยละครู นักเรียน ผู้ปกครองสามารถคัดแยกขยะและนำขยะไปสร้างมูลค้าเพิ่มได้
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ 4 ประเภทได้(ขยะทั่วไป ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย) ข้อที่ 2ส่งเสริมกิจกรรม 1 A 3 Rs ลดขยะในสถานศึกษาและนำขยะไปสร้างมูลค่าเพิ่ม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการขยะนี้มีคุณค่าสร้างสรรค์ปัญญาชาวเสนา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 2561-L7257-3-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพิศพร บุญตามช่วย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด