ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561
ที่อยู่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3352-1-19 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน (2) 2.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม (3) 3.ให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด (4) 4.เพื่อลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการเจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างกลุ่มเป้าหมาย (2) ค่าอาหารกลางวันในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย (4) ค่าตอบแทนวิทยากรการอบรมให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีผู้มีงานทำทั้งสิ้น 38.4 ล้านคน เป็นแรงงานภาคเกษตรกรรม จำนวน 11.9 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 56.9 ของแรงงานนอกระบบทั้งหมด การดูแลความปลอดภัยของแรงงานในภาคเกษตรถือเป็นแรงงานจำนวนมากที่สำคัญของประเทศ จำเป็นต้องดูแลคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดโรคจากการทำงานภาคเกษตร ได้แก่ ความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณ ชนิด และทางที่เข้าสู่ร่างกาย ความเสี่ยงทางชีวภาพ ได้แก่ความเสี่ยงทางโรคติดต่อ เช่น ฉี่หนู ถูกสัตว์กัด ทำร้าย ความเสี่ยงทางกายภาพ ได้แก่ การทำงานในที่มีอากาศร้อนสูญเสียเหงื่อมาก อ่อนเพลีย หมดสติ เป็นลม ความเสี่ยงจากท่าทางและสภาพการทำงานไม่เหมาะสม ยกของไม่ถูกวิธี อาจทำให้เกิดอาการปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อ อาการบาดเจ็บของกระดูกและข้อ หลังการเร่งรีบทำงานมีผลทำให้เคร่งเครียดทางจิตใจ ออกแรงมากเกินกำลัง เป็นประจำการทำงานด้วยท่าทางที่ไม่เหมาะสมการเคลื่อนไหวของร่างกายในลักษณะซ้ำซาก ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในเกษตรกรส่วนใหญ่ นอกจากนี้ยังอาจเกิดความเสี่ยงจากการใช้เครื่องจักรถูกของมีคมบาด ตำบลชัยบุรีเป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพภาคเกษตรกรรมมีพื้นที่การเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของทั้งหมด ประกอบด้วยพื้นที่ทำนาปี นาปรัง ปลูกผัก ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุม กำจัดศัตรูพืช จึงเป็นการกระจายขยายวงกว้างและอยู่ในระดับที่รุนแรงจากข้อมูลการตรวจสารเคมีในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง เมื่อปีงบประมาณ 2560 พบว่าจากการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในเกษตรกร พบว่า มีสารเคมีตกค้างในระดับที่ไม่ปลอดภัยในเกษตรกร ร้อยละ 62.00 ซึ่งถือว่าอยู่ในภาวะเสี่ยงสูง นอกจากนี้ความเสี่ยงด้านอื่น ๆ เป็นปัญหาสุขภาพด้วย จากข้อมูลการเจ็บปวยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ พบว่า โรคที่เกิดจากการทำงาน ได้แก่ อาการปวดเมื่อยยกกล้ามจากการทำงาน อยู่ในสาเหตุการเจ็บป่วยในอันดับต้น ๆ มาทุกปปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสียงในพื้นที่รับผิดชอบมีความปลอดภัยในการทำงานทั้งด้านจากการใช้สารเคมี และด้านการปฏิบัติตนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงอันเกิดจากโรคที่เกิดจากการทำงาน เพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน
- 2.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
- 3.ให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
- 4.เพื่อลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการเจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างกลุ่มเป้าหมาย
- ค่าอาหารกลางวันในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย
- ค่าตอบแทนวิทยากรการอบรมให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน
2.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
3.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
4.ลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ ดำเนินการโครงการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561 ดำเนินการในกลุ่มเป้าหมายเกษตรกรผู้ใช้สารเคมี และมีปัญหาสุขภาพจากโรคที่เกิดจากการทำงาน โดยจัดกิจกรรมการตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือดการให้่ความรู้แก่เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการใช้สารเคมีป้องกัน ด้านอาชีวอนามัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยจากโรคที่เกิดจากการทำงานของเกษตรกร
ผลผลิตจากกลุ่มเป้าหมาย ใน 2 กลุ่ม
1.กลุ่มเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช จำนวนผู้เข้่าร่วมการอบรม และตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือด ครบถ้วน 150 คน คืดเป็นร้อยละ 100 และในรอบที่ 2 มีการตรวจติดตามตรวจซ้ำในกลุ่มเสี่ยง พบว่าผู้ตรวจซ้ำครบถ้วน คิดเป็นร้อยละ 100 ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
2.กลุ่มผู้มีปัญหาสุขภาพจากการทำงาน เป้าหมาย 50 คน พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมด้านอาชีวอนามัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยจากโรคที่เกิดจากทำงานของเกษตรกร ครบถ้วนร้อยละ 100
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ หลังดำเนินโครงการ พบว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจด้านการใช้สารเคมีเพิ่มขึ้น มีการนำความรู้ใปใช้ในการป้องกันตนเองจากสารเคมี ทำให้ผลการเจาะเลือดซ้ำครั้งที่ 2 พบว่า กลุ่มเสี่ยงลดลง ส่วนกลุ่มผู้มีปัญหาสุขภาพจากการทำงานมีความพึงพอใจกับกิจกรรมที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติเพื่อลดอาการปวดจากโรคที่เกิดจากการทำงาน ได้แก่ การปวดเมื่อย และป้องกันโรคที่เกิดจากการทำงานในโอกาสต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน
ตัวชี้วัด : 1.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน
0.00
2
2.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 2.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
0.00
3
3.ให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
ตัวชี้วัด : 3.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
0.00
4
4.เพื่อลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่
ตัวชี้วัด : 4.ลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน (2) 2.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม (3) 3.ให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด (4) 4.เพื่อลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการเจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างกลุ่มเป้าหมาย (2) ค่าอาหารกลางวันในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย (4) ค่าตอบแทนวิทยากรการอบรมให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3352-1-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3352-1-19 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน (2) 2.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม (3) 3.ให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด (4) 4.เพื่อลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการเจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างกลุ่มเป้าหมาย (2) ค่าอาหารกลางวันในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย (4) ค่าตอบแทนวิทยากรการอบรมให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีผู้มีงานทำทั้งสิ้น 38.4 ล้านคน เป็นแรงงานภาคเกษตรกรรม จำนวน 11.9 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 56.9 ของแรงงานนอกระบบทั้งหมด การดูแลความปลอดภัยของแรงงานในภาคเกษตรถือเป็นแรงงานจำนวนมากที่สำคัญของประเทศ จำเป็นต้องดูแลคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดโรคจากการทำงานภาคเกษตร ได้แก่ ความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณ ชนิด และทางที่เข้าสู่ร่างกาย ความเสี่ยงทางชีวภาพ ได้แก่ความเสี่ยงทางโรคติดต่อ เช่น ฉี่หนู ถูกสัตว์กัด ทำร้าย ความเสี่ยงทางกายภาพ ได้แก่ การทำงานในที่มีอากาศร้อนสูญเสียเหงื่อมาก อ่อนเพลีย หมดสติ เป็นลม ความเสี่ยงจากท่าทางและสภาพการทำงานไม่เหมาะสม ยกของไม่ถูกวิธี อาจทำให้เกิดอาการปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อ อาการบาดเจ็บของกระดูกและข้อ หลังการเร่งรีบทำงานมีผลทำให้เคร่งเครียดทางจิตใจ ออกแรงมากเกินกำลัง เป็นประจำการทำงานด้วยท่าทางที่ไม่เหมาะสมการเคลื่อนไหวของร่างกายในลักษณะซ้ำซาก ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในเกษตรกรส่วนใหญ่ นอกจากนี้ยังอาจเกิดความเสี่ยงจากการใช้เครื่องจักรถูกของมีคมบาด ตำบลชัยบุรีเป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพภาคเกษตรกรรมมีพื้นที่การเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของทั้งหมด ประกอบด้วยพื้นที่ทำนาปี นาปรัง ปลูกผัก ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุม กำจัดศัตรูพืช จึงเป็นการกระจายขยายวงกว้างและอยู่ในระดับที่รุนแรงจากข้อมูลการตรวจสารเคมีในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง เมื่อปีงบประมาณ 2560 พบว่าจากการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในเกษตรกร พบว่า มีสารเคมีตกค้างในระดับที่ไม่ปลอดภัยในเกษตรกร ร้อยละ 62.00 ซึ่งถือว่าอยู่ในภาวะเสี่ยงสูง นอกจากนี้ความเสี่ยงด้านอื่น ๆ เป็นปัญหาสุขภาพด้วย จากข้อมูลการเจ็บปวยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ พบว่า โรคที่เกิดจากการทำงาน ได้แก่ อาการปวดเมื่อยยกกล้ามจากการทำงาน อยู่ในสาเหตุการเจ็บป่วยในอันดับต้น ๆ มาทุกปปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสียงในพื้นที่รับผิดชอบมีความปลอดภัยในการทำงานทั้งด้านจากการใช้สารเคมี และด้านการปฏิบัติตนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงอันเกิดจากโรคที่เกิดจากการทำงาน เพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน
- 2.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
- 3.ให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
- 4.เพื่อลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการเจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างกลุ่มเป้าหมาย
- ค่าอาหารกลางวันในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย
- ค่าตอบแทนวิทยากรการอบรมให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน 2.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม 3.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด 4.ลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ ดำเนินการโครงการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561 ดำเนินการในกลุ่มเป้าหมายเกษตรกรผู้ใช้สารเคมี และมีปัญหาสุขภาพจากโรคที่เกิดจากการทำงาน โดยจัดกิจกรรมการตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือดการให้่ความรู้แก่เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการใช้สารเคมีป้องกัน ด้านอาชีวอนามัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยจากโรคที่เกิดจากการทำงานของเกษตรกร ผลผลิตจากกลุ่มเป้าหมาย ใน 2 กลุ่ม 1.กลุ่มเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช จำนวนผู้เข้่าร่วมการอบรม และตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือด ครบถ้วน 150 คน คืดเป็นร้อยละ 100 และในรอบที่ 2 มีการตรวจติดตามตรวจซ้ำในกลุ่มเสี่ยง พบว่าผู้ตรวจซ้ำครบถ้วน คิดเป็นร้อยละ 100 ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2.กลุ่มผู้มีปัญหาสุขภาพจากการทำงาน เป้าหมาย 50 คน พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมด้านอาชีวอนามัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยจากโรคที่เกิดจากทำงานของเกษตรกร ครบถ้วนร้อยละ 100 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ หลังดำเนินโครงการ พบว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจด้านการใช้สารเคมีเพิ่มขึ้น มีการนำความรู้ใปใช้ในการป้องกันตนเองจากสารเคมี ทำให้ผลการเจาะเลือดซ้ำครั้งที่ 2 พบว่า กลุ่มเสี่ยงลดลง ส่วนกลุ่มผู้มีปัญหาสุขภาพจากการทำงานมีความพึงพอใจกับกิจกรรมที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติเพื่อลดอาการปวดจากโรคที่เกิดจากการทำงาน ได้แก่ การปวดเมื่อย และป้องกันโรคที่เกิดจากการทำงานในโอกาสต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน ตัวชี้วัด : 1.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ตัวชี้วัด : 2.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม |
0.00 |
|
||
3 | 3.ให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด ตัวชี้วัด : 3.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด |
0.00 |
|
||
4 | 4.เพื่อลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่ ตัวชี้วัด : 4.ลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน (2) 2.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤตกรรมที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่อาจเกิดจากการทำงาน รู้จักการป้องกันตนเองจากอันตราย จากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม (3) 3.ให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด (4) 4.เพื่อลดปัญหาการเกอดโรครายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการเจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างกลุ่มเป้าหมาย (2) ค่าอาหารกลางวันในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย (4) ค่าตอบแทนวิทยากรการอบรมให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3352-1-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......