กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการลด ละ เลิก บุหรี่และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวริศรา ละออสุวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการลด ละ เลิก บุหรี่และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2492-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มิถุนายน 2561 ถึง 23 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลด ละ เลิก บุหรี่และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลด ละ เลิก บุหรี่และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลด ละ เลิก บุหรี่และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2492-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มิถุนายน 2561 - 23 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 71,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาที่มีความสำคัญโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตของคนไทยในระดับต้นๆ ในจำนวนโรคไม่ติดต่อทั้งหลาย โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญตั้งแต่ระดับประเทศจนมาถึงระดับพื้นที่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีอัตราการเกิดโรคและเกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มในอัตราที่สูงทุกปี มีการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากสาเหตุของโรคดังกล่าวนี้ เป็นจำนวนมาก ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ประชาชนขาดการเอาใจใส่และไม่ตระหนักในการดูแลสุขภาพเท่าที่ควร เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ประชาชนชอบรับประทานอาหารตามใจปากไม่เอาใจใส่คัดสรรเลือกรับประทานอาหารเฉพาะที่เป็นประโยชน์ตามหลักโภชนาการ นิยมบริโภคอาหารหวาน มันและเค็ม พฤติกรรมการออกกำลังกายที่ประชาชนยังขาดการออกกำลังกายโดยเฉพาะในกลุ่มคนทำงานในสำนักงาน พฤติกรรมด้านอารมณ์ความเครียดต่างๆ ตลอดจนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ที่ยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญที่ต้องเอาใจใส่และแก้ปัญหาอย่างจริงจังไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการแก้ปัญหาพฤติกรรมการสุขภาพด้านอื่นๆ ที่กล่าวมาข้างต้น ในปี 2559 ถึงปัจจุบัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน ได้มีความพยายามและดำเนินการแก้ปัญหาในเรื่องโรคไม่ติดต่ออย่างต่อเนื่อง เป็นปัญหาที่เป็นนโยบายสูงสุดของหน่วยบริการที่ต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาทั้งระยะสั้นและระยะยาวอย่างต่อเนื่องและสอดคล้องตามบริบทของพื้นที่หรือเป็นไปตามครรลองศาสนาอิสลาม โดยมุ่งเน้นในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยเฉพาะในเรื่องของการบริโภคอาหารเป็นสำคัญ จึงได้คิดค้นตัวกิจกรรมและรูปแบบบริการเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในด้านการบริโภคอาหารที่สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของผู้คนในพื้นที่สอดคล้องกับวิถีความเชื่อตามหลักศาสนาอิสลาม ตลอดจนเป็นไปตามความต้องการของประชาชน ซึ่งจากการแก้ปัญหาในปีที่ผ่านมาประสบความสำเร็จเป็นที่น่าพอใจ แต่อย่างไรก็ตามจากการวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาพบว่าประการหนึ่งที่สำคัญที่ส่งผลทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อต่อความดันโลหิตสูงและเบาหวานก็คือปัญหาเรื่องการสูบบุหรี่ ต้องยอมรับว่าในปีที่ผ่านมาที่แก้ไขปัญหา เรื่องบุหรี่ไม่ได้รับการใจใส่เท่าที่ควร ทั้งที่ตัวเลขจากการสำรวจข้อมูลของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในปี 2560 ที่ผ่านมาพบว่าในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมีอัตราการสูบบุหรี่อยู่ในอัตราที่สูงพอสมควรคือ ร้องละ 67.02 ด้วยตัวเลขดังกล่าวจำเป็นที่จะต้องได้รับการเอาใจใส่และแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังไม่แพ้ในเรื่องของการแก้ปัญหาพฤติกรรมด้านการบริโรคอาหารและพฤติกรรมด้านอื่นๆ ที่ต้องดำเนินการอย่างควบคู่กันไป และจำเป็นที่จะต้องสร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาเรื่องบุหรี่ที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่และวิถีมุสลิมเช่นกัน ปัญหาเรื่องบุหรี่เป็นปัญหาที่ยากในการแก้ไข การแก้ไขจึงต้องจริงจัง เอาใจใส่ติดตามต่อเนื่องและเเก้ปัญหาตามความต้องการของประชาชน เพราะไม่เช่นนั้นการแก้ปัญหาจะไม่ได้ผล กลุ่มเป้าหมายไม่สามารถเลิกบุหรี่ได้หรือผู้ที่เลิกแล้วอาจจะไม่เลิกอย่างเด็ดขาดและตัดสินใจกลับมาสูบอีก ในกลุ่มเป้าหมายเองก็ยากที่จะแก้ปัญหาเพราะการเลิกบุหรี่ต้องเป็นกลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจและตั้งใจจริงในการลด ละ เลิกบุหรี่ด้วยตนเอง บุหรี่จึงเป็นปัญหาที่ต้องจริงจังกันทั้งสองฝ่ายทั้งกลุ่มของผู้บริการและกลุ่มของผู้รับบริการ รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพเพื่อเลิกบุหรี่ จึงต้องเป็นการแก้ปัญหาที่เป็นไปตามบริบทของพื้นที่และเป็นไปตามที่กลุ่มเป้าหมายต้องการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียนจึงได้คิดค้นรูปแบบการเลิกบุหรี่ที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ เป็นไปตามครรลอง และเป็นรูปแบบกิจกรรมที่พัฒนามาจากผลการทำงานด้านบุหรี่ในพื้นที่ เป็นข้อมูลประกอบกันให้ได้มาซึ่งตัวกิจกรรมและกระบวนการของการแก้ปัญหาที่ได้ผลจริงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ตลอดจนที่สำคัญที่สุดคือกลุ่มเป้าหมายจะมิใช่เพียงแค่สามารถเลิกบุหรี่ ได้แต่ในตัวกิจกรรมนั้นกลุ่มเป้าหมายจะสามารถยกระดับศรัทธาและศาสนาของตนเองให้ดีขึ้นควบคู่ไปด้วย "ได้ทั้งสุขภาพดี ได้บุญ" นี่คือจุดมุ่งหมายสูงสุดของหน่วยบริการแห่งนี้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของ "โครงการ ลด ละ เลิกบุหรี่ และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ปีงบประมาณ 2561" เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาในเรื่องบุหรี่ให้ได้ผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่
  2. 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเลิกบุหรี่สามารถเลิกบุหรี่อย่างได้ผล
  3. 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่สามารถเลิกบุหรี่ เป็นต้นแบบคนเลิกบุหรี่และสามารถขยายเครือข่ายต่อไปได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมประชาชน ให้ความรู้เรื่อง ลด ละ เลิกบุหรี่
  2. อบรมนักเรียนต้นแบบเลิกบุหรี่ ป้องกันนักสูบหน้าใหม่
  3. ประชุมคณะกรรมการ/ผู้นำชุมชน/คณะทำงาน/ผู้นำศาสนา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดปริมาณของผู้สูบบุหรี่และมารตาการในการเฝ้าระวังการป้องกันนักสูบหน้าใหม่ 2.ชุมชนสามารถดำเนินการด้านสุขภาพได้เองภายใต้ความร่วมมือของทุกภาคส่วนในชุมชนในการจัดการสุขภาพ นำมาซึ่งการดำเนินงานด้านสุขภาพในพื้นที่ที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และยั่งยืน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมประชาชน ให้ความรู้เรื่อง ลด ละ เลิกบุหรี่

วันที่ 16 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมประชาชน ให้ความรู้เรื่อง ลด ละ เลิกบุหรี่ - ค่าวิทยากรอบรม 2 รุ่นๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
- ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.2*3 เมตร 5 ผืนๆ ละ 900 เป็นเงิน 4,500 - ค่าอุปกรณ์จัดอบรม ( - ค่าสมุด 360 เล่มๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท, - ค่าปากกา 360 ด้ามๆ ละ 6 บาท เป็นเงิน 2,160 บาท, - ค่ากระดาษ A4 4 รีมๆ ละ 145 บาท เป็นเงิน 580 บาท,
                              - ค่าปากกาเมจิ 11 ด้ามๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 110 บาท รวมเป็นเงิน 4,650 บาท )
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆ ละ 25 บาท 2 รุ่นๆ ละ 55 คน จำนวน 110 คน เป็นเงิน 11,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท 2 รุ่นๆ ละ 55 คน จำนวน 110 คน เป็นเงิน 11,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้หลังการอบรมอยู่ในะดับสูงมากกว่า ร้อยละ 80

 

110 0

2. อบรมนักเรียนต้นแบบเลิกบุหรี่ ป้องกันนักสูบหน้าใหม่

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมนักเรียนต้นแบบเลิกบุหรี่ ป้องกันนักสูบหน้าใหม่ - ค่าวิทยากรอบรม 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 250 คน เป็นเงิน 12,500 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 250 คน เป็นเงิน 12,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน 1 คน สามารถชวนเพื่อนเลิกบุหรี่ได้อย่างน้อย 1 คน

 

250 0

3. ประชุมคณะกรรมการ/ผู้นำชุมชน/คณะทำงาน/ผู้นำศาสนา

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการ/ผู้นำชุมชน/คณะทำงาน/ผู้นำศาสนา - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การประชุมผ่านไปด้วยดี สามารถนำไปดำเนินการโครงการได้

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้หลังการอบรมอยู่ในระดับสูง มากกว่า ร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเลิกบุหรี่สามารถเลิกบุหรี่อย่างได้ผล
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถเลิกบุหรี่และไม่กลับมาสูบบุหรี่ซ้ำ ร้อยละ 60
0.00

 

3 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่สามารถเลิกบุหรี่ เป็นต้นแบบคนเลิกบุหรี่และสามารถขยายเครือข่ายต่อไปได้
ตัวชี้วัด : นักเรียน 1 คน สามารถชวนเพื่อนเลิกบุหรี่ได้อย่างน้อย 1 คน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 410
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่ (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเลิกบุหรี่สามารถเลิกบุหรี่อย่างได้ผล (3) 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่สามารถเลิกบุหรี่ เป็นต้นแบบคนเลิกบุหรี่และสามารถขยายเครือข่ายต่อไปได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมประชาชน ให้ความรู้เรื่อง ลด ละ เลิกบุหรี่ (2) อบรมนักเรียนต้นแบบเลิกบุหรี่ ป้องกันนักสูบหน้าใหม่ (3) ประชุมคณะกรรมการ/ผู้นำชุมชน/คณะทำงาน/ผู้นำศาสนา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลด ละ เลิก บุหรี่และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2492-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวริศรา ละออสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด