กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี


“ ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์

ชื่อโครงการ ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3352-1-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3352-1-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,630.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลกได้จัดกลุ่มประเทศที่มีภาวะวัณโรคสูง เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1.มีภาระโรควัณโรคสูง 2.มีภาระวัณโรคที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีสูง 3.มีวัณโรคดื้อยาหลายขนานสูง ประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรคสูงทั้ง 3 กลุ่ม จังหวัดพัทลุง ตั้งแต่ปี 2554-2558 อัตราความครอบคลุมของการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อ ร้อยละ 70 ในปี 2559 เป้าหมายค้นหาเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 จังหวัดพัทลุง จึงมีเป้าหมายค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ จำนวน 423 ราย ซึ่งสามารถค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ที่ขึ้นทะเบียนรักษาในปี 2559 จำนวน 404 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.51 ของเป้าหมาย สำหรับปี 2560 เป้าหมายผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทที่ตรวจพบและรายงานร้อยละ 80 ที่คาดว่าจะมีในชุมชน พบผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 717 ราย แยกเป็นอำเภอเมืองพัทลุง จำนวน 166 ราย ควนขนุน 115 ราย กงหรา 50 ราย เขาชัยสน 62 ราย ตะโหมด 42 ราย ปากพะยูน 70 ราย ป่าบอน 65 ราย บางแก้ว 36 ราย ศรีบรรพต 25 ราย ป่าพะยอม 49 ราย และศรีนครินทร์ 37 รายและเขตความรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านปากสระมีผู้ป่วยวัณโรค 6 ราย เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นอัตราป่วย 178.35 ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าปกติ และเป็นผู้ป่วยวัณโรคที่ป่วยกลับซ้ำ ดื้อยา จำนวน 1 ราย มีภาวะเสี่ยงในการแพร่โรคสูง อสม. นับเป็นแกนนำด้านสุขภาพที่มีความสำคัญในชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพจากหน่วยงานสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง มีความรู้ในระดับหนึ่งที่เข้าใขสภาพปัญหา มีความคุ้นเคยแก้ไขปัญหาวัณโรค ซึ่งมีความรุนแรงของโรคเป็นผู้มีความใกล้ชิด โดยการจัดกิจกรรมการบรรยายให้ความรู้ ดูวีดีทัศน์ ศึกษาคู่มือ เล่าประสบการณ์ทำให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ไขวัณโรคในชุมชน ต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ จึงได้จัดทำโครงการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนขึ้น เพื่อให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย จึงต้องมีส่วนร่วมในการป้องกันวัณโรค ของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการทำงานที่ยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรเสี่ยง
  2. 2.เพื่อเสริมสร้างพลังแก่ อสม. เพื่อป้องกันวัณโรคในชุมชน
  3. 3.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบ DOTS ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
  4. 4.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าตอบแทนวิทยากร
  2. ค่าอาหารกลางวัน
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  4. เอกสารประกอบการอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 81
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรเสี่ยง 2.เสริมสร้างพลังแก่ อสม. เพื่อป้องกันวัณโรคในชุมชน 3.พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบ DOTS ให้เป็นไปตามมาตรฐาน 4.พัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การจัดโครงการครั้งนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ ดำเนินการในกลุ่มเป้าหมาย อสม.แกนนำวัณโรค จำนวน 81 คน โดยจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ฝึกการคัดกรองเพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ด้วยแบบคัดกรองด้วยวาจา และออกฝึกปฏิบัติจริงในชุมขน โดยการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย กลุ่ม่เสี่ยงวัณโรคในพื้นที่ ผลการดำเนินโครงการ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ เป้าหมาย คือ อสม.แกนนำ มีจำนวน ทั้งสิ้น 81 คน ซึ่งเข้ารับการอบรมครบถ้วน 81 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ การอบรมส่งผลให้ อสม.แกนนำมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรควัณโรคเพิ่มขึ้น สามารถคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคในพื้นที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ครบถ้วน ร้อยละ 100 และมีการเยี่ยมบ้าน กำกับการกินยาให้กับผู้ป่วย สามารถดูแลผู้ป่วยที่เป็นอยู่แล้ว ผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียน 1 รายได้รับการรักษาหายภายในเวลา 6 เดือนตามมาตรฐาน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรเสี่ยง
ตัวชี้วัด : 1.เร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรเสี่ยง
0.00

 

2 2.เพื่อเสริมสร้างพลังแก่ อสม. เพื่อป้องกันวัณโรคในชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.เสริมสร้างพลังแก่ อสม. เพื่อป้องกันวัณโรคในชุมชน
0.00

 

3 3.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบ DOTS ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 3.พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบ DOTS ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
0.00

 

4 4.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : 4.ฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 81
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 81
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรเสี่ยง (2) 2.เพื่อเสริมสร้างพลังแก่ อสม. เพื่อป้องกันวัณโรคในชุมชน (3) 3.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบ DOTS ให้เป็นไปตามมาตรฐาน (4) 4.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าตอบแทนวิทยากร (2) ค่าอาหารกลางวัน (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (4) เอกสารประกอบการอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3352-1-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด