กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะพร้าวบ้านทอนอามาน ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางเจะปูรอ บินหะมะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะพร้าวบ้านทอนอามาน

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2492-2-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มิถุนายน 2561 ถึง 15 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะพร้าวบ้านทอนอามาน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะพร้าวบ้านทอนอามาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะพร้าวบ้านทอนอามาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2492-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มิถุนายน 2561 - 15 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คุณภาพชีวิต ถือได้ว่าเป็นเป้าหมายหลักของสังคม คือ ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกายและจิตใจ ทุกเพศทุกวัยจากการศึกษาข้อมูลพบว่า ประชากรกลุ่มสัมมาชีพป่วยเป็นโรคมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากรดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มสัมมาชีพ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่อง ในการเตรียมความพร้อมให้สมาชิกกลุ่มสัมมาชีพครอบครัวตลอดจนชุมชน จากสภาพปัญหาด้านสุขภาพของกลุ่มสัมมาชีพในสถานประกอบการในปัจจุบัน นับว่าเป็นปัญหาหนึ่งที่ไม่สามารถจะมองข้ามได้ เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพจะส่งผลกระทบต่อปัญหาอื่นๆ อีกมากมาย เช่น ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สุขภาพ เป็นต้น หากขาดการเอาดูแลใจใส่อาจส่งผลถึงชีวิตในที่สุดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดี เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคกระดูกและข้อ ตลอดจนปัญหาอุบัติเหตุต่างๆ แม้ว่าจะเป็นอุบัติเหตุจากการทำงาน อุบัติเหตุจากการจราจรบนท้องถนน โรคและอุบัติเหตุต่างๆ เหล่านี้ยังเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การได้รับบริการสร้างภูมิคุ้มกันโรคจากสถานบริการสาธารณสุข ซึ่งกลุ่มสัมมาชีพในชุมชนไม่ใส่ใจดูแลสุขภาพเบื้องต้น แม้ว่ากระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พยายามที่จะแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องอาศัยกลยุทธ์ในการส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของกลุ่มสัมมาชีพในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อกระตุ้น และสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพของสมาชิกกลุ่มฯ
  2. 2. เพื่อให้สมาชิกมีการออกกำลังกายเคลื่อนไหวร่างกายอย่างถูก ไม่ทำให้เกิดอาการเจ็บ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพแก่สมาชิกกลุ่ม เรื่องการปฏิบัติตนเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ
  2. ออกกำลังกายเต้นแอโรบิก อาทิตย์ละ 3 วันๆ ละ 60 นาที

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถสร้างสุขภาวะ และถือเป็นการขับเคลื่อนเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีของสมาชิกกลุ่มสัมมาชีพในพื้นที่
  2. สามารถสร้างกระแสและสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพของสมาชิก โดยมีการเคลื่อนไหวร่างกายลดภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคเรื้อรังของผู้เข้าร่วมโครงการ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพแก่สมาชิกกลุ่ม เรื่องการปฏิบัติตนเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าวิทยากร 2 คน/ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 4,800 บาท
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1*2.8 เมตร เป็นเงิน 710 บาท
  • ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 30 ชุดๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,050 บาท
  • ค่าซองกระดุมพลาสติก ขนาด F4 จำนวน 30 ซองๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 390 บาท
  • ค่าปากกา จำนวน 30 ด้ามๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 300 บาท
  • ค่าสมุด จำนวน 30 เล่มๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 2 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 30 คน เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าอาหารว่าง 4 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 30 คน เป็นเงิน 3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมเป็นสมาชิกศูนย์วิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะพร้าวบ้านทอนอามาน จำนวน 30 คน ให้ความร่วมมือ

 

30 0

2. ออกกำลังกายเต้นแอโรบิก อาทิตย์ละ 3 วันๆ ละ 60 นาที

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าวิทยากรครูนำแอโรบิก วันละ 1 ชั่วโมง จำนวน 20 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นสมาชิกศูนย์วิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะพร้าวบ้านทอนอามาน จำนวน 30 คน ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมนี้ และสามารถนำกลับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อกระตุ้น และสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพของสมาชิกกลุ่มฯ
ตัวชี้วัด : สมาชิกกลุ่มฯ ใส่ใจและเห็นความสำคัญในการป้องกันและดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว
50.00

 

2 2. เพื่อให้สมาชิกมีการออกกำลังกายเคลื่อนไหวร่างกายอย่างถูก ไม่ทำให้เกิดอาการเจ็บ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของสมาชิก ออกกำลังกายได้อย่าถูกต้องและมีค่าดัชนีมวลการไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อกระตุ้น และสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพของสมาชิกกลุ่มฯ (2) 2. เพื่อให้สมาชิกมีการออกกำลังกายเคลื่อนไหวร่างกายอย่างถูก ไม่ทำให้เกิดอาการเจ็บ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพแก่สมาชิกกลุ่ม เรื่องการปฏิบัติตนเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ (2) ออกกำลังกายเต้นแอโรบิก อาทิตย์ละ 3 วันๆ ละ 60 นาที

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะพร้าวบ้านทอนอามาน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2492-2-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเจะปูรอ บินหะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด