กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา


“ โครงการส่งเสริมวิถีสุขภาพของชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ป้องกันโรค ”

ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
อบต.คูหา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมวิถีสุขภาพของชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ป้องกันโรค

ที่อยู่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L61-L5254-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมวิถีสุขภาพของชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ป้องกันโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมวิถีสุขภาพของชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ป้องกันโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมวิถีสุขภาพของชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ป้องกันโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L61-L5254-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ระบบสุขภาพชุมชน หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สัมพันธ์กันที่ทำให้เกิดสุขภาวะของประชาชนในชุมชนโดยความร่วมมือกันของสมาชิกกลุ่มต่างๆ ในชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีสุขภาพดีทุกมิติ โดยชุมชนเป็นเจ้าของและเป็นผู้ดำเนินการร่วมกับท้องถิ่นและหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่เหตุผลที่ชุมชนท้องถิ่นต้องร่วม“จัดการ” สุขภาพเพราะ1. เพราะชุมชนและท้องถิ่น คือฐานของประเทศ ถ้าชุมชนเข้มแข็งและสามารถจัดการปัญหาต่างๆ ได้ดี ประเทศชาติก็จะเข้มแข็งการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนจะต้องจัดการพัฒนาหลายๆ ด้าน ไปพร้อมกัน โดยเริ่มจากระดับชุมชนขึ้นมา มิใช่เริ่มจากนโยบายของรัฐบาลลงมาสู่ชุมชนเหมือนเช่นในอดีต2. เพราะการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน คือพื้นฐานความเป็นธรรมของสังคม ระบบสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็งจะดูแลคนทุกกลุ่มอย่างทั่วถึงและทำให้ทุกคนได้รับสิทธิเสมอกัน ประเทศไทยมีความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อให้สังคมเกิดความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้ำอันเป็นช่องว่างและเป็นสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาสุขภาพดังนั้นรัฐจึงต้องทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพของรัฐรวมทั้งประโยชน์พื้นฐานต่างๆให้ได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันทุกกลุ่ม 3. เพราะสังคมไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ หลังจากที่ประเทศไทย ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เราได้มีการเตรียมการรับมือกับปัญหานี้โดยการเตรียมระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนแบบบูรณาการ ซึ่งต้องประกอบด้วยการจัดการด้านเศรษฐกิจ สังคม การรักษาพยาบาล นอกจากนี้ยังได้เตรียมการในเรื่องของการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาวและระยะสุดท้าย ซึ่งเป็นระบบที่ต้อง อาศัยการดูแลและเกื้อกูลจากชุมชนเป็นหลัก 4. เพราะเรากำลังเผชิญหน้ากับเพชฌฆาตเงียบที่เรียกว่า “โรคเรื้อรัง” ในปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่ทำให้คนไทยเสียชีวิตและเกิดภาระค่าใช้จ่ายมากที่สุดคือ ปัญหาโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไตวาย เป็นต้น ซึ่งการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรัง 5.เพราะต้องการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้สูงอายุห่างไกลภาวะพึ่งพิง เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ จะมีปัญหาของโรคเกี่ยวกับกระดูกและข้อ การอักเสบต่างๆ ของข้อ ทำให้เป็นอุปสรรคในการเคลื่อนไหว และการช่วยตัวเอง ของผู้สูงอายุ ซึ่งอาจจะลุกลามจนกระทั่งทำให้ผู้สูงอายุกลายเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เช่น กลุ่มติดบ้าน ติดเตียง เนื่องจากการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพด้วยความยากลำบาก และในการดำเนินชีวิตประจำวันต้องพึ่งพาผู้ดูแล จำเป็นต้องดำเนินการทั้งเรื่องการดูแลผู้ป่วย การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งการปรับพฤติกรรมและค่านิยมของประชาชน ซึ่งจะต้องทำอย่างต่อเนื่องด้วยกลยุทธ์ที่เข้าถึงและเข้าใจในวิถีชีวิต วัฒนธรรมและรากเหง้าของชุมชน จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น และสถิติข้อมูลสุขภาวะของคนในชุมชนคูหาพบว่า ปัญหาสุขภาวะทางกายที่สำคัญของคนในตำบลคูหาทุกช่วงวัย โดยเฉพาะกลุ่มวัยทำงาน และวัยสูงอายุ คือ คนในชุมชนประสบกับปัญหาภาวะความเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ อันประกอบด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคกระดูกและข้อ โดยสาเหตุสำคัญมาจากการพฤติกรรมการบริโภคในครัวเรือน ด้วยวิถีชุมชนที่เปลี่ยนแปลงไปองค์การบริหารส่วนตำบลคูหา /เห็นความสำคัญ... - 2 -

เห็นความสำคัญของสุขภาวะทางกายที่จะเป็นจุดเริ่มต้นในการมีสุขภาวะที่ดีของคนในชุมชนโดยการรณรงค์ สร้างจิตสำนึกที่ดีในการคำนึงถึงสุขภาพตั้งแต่กระบวนการปรุงอาหารในครัวเรือน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คนในชุมชนลดความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เพื่อลดอัตราการเป็นโรคที่ป้องกันได้และความสำคัญปัญหาสุขภาวะทางใจโดยเฉพาะในกลุ่มวัยผู้สูงอายุมีจำนวนผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากวิถีชีวิตของชุมชน ทั้งด้านการบริโภค และการเป็นอยู่ได้เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยที่ต้องการความรวดเร็ว
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลคูหา จึงกำหนดจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมกระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคขึ้นภายใต้ชื่อ โครงการส่งเสริมวิถีสุขภาพของชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ป้องกันโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1) เพื่อการส่งเสริมป้องกันโรค (Health Promotion) ในประชาชนทุกกลุ่มอายุ และมุ่งเน้นในกลุ่มผู้สูงอายุที่ ช่วยเหลือตัวเองได้และช่วยเหลือตนเองไม่ได้
  2. 2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เข้าสังคมและพบปะเพื่อนฝูง
  3. 3) เพื่อเปิดพื้นที่ให้ผู้สูงอายุได้แสดงออกถึงศักยภาพ สร้างคุณค่าให้ตัวเอง
  4. 4) เพื่ออนุรักษ์อาหารไทย/พืชสมุนไพรท้องถิ่นที่สามารถป้องกันและรักษาสุขภาพ
  5. 5) เพื่อบูรณาการการดูแลร่วมกับภาคีเครือข่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้และตรวจสุขภาพและชุดดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ พร้อมสาธิตเครื่องดื่มสมุนไพรพื้นถิ่นที่มีผลต่อการส่งเสริมสุขภาพและปรับสมดุลร่างกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ประชาชนทุกกลุ่มวัยในพื้นที่ตำบลคูหาตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนวิถีการดำรงชีพ โดยเฉพาะการบริโภคที่ช่วยลดภาวะการเกิดโรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิต
2) ประชาชนกลุ่มสูงอายุได้รับความรู้ และตระหนักถึงคุณค่าในตนเองส่งผลต่อสุขภาพจิตที่ดี
3) ชุมชนตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในการร่วมกันดูแลสุขภาพของชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1) เพื่อการส่งเสริมป้องกันโรค (Health Promotion) ในประชาชนทุกกลุ่มอายุ และมุ่งเน้นในกลุ่มผู้สูงอายุที่ ช่วยเหลือตัวเองได้และช่วยเหลือตนเองไม่ได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนทุกกลุ่มอายุ และมุ่งเน้นในกลุ่มผู้สูงอายุที่ ช่วยเหลือตัวเองได้คิดเป็นร้อยละ
70.00

 

2 2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เข้าสังคมและพบปะเพื่อนฝูง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้เข้าสังคมและพบปะเพื่อนฝูง คิดเป็นร้อยละ
80.00

 

3 3) เพื่อเปิดพื้นที่ให้ผู้สูงอายุได้แสดงออกถึงศักยภาพ สร้างคุณค่าให้ตัวเอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้แสดงออกถึงศักยภาพ สร้างคุณค่าให้ตัวเอง คิดเป็นร้อยละ
100.00

 

4 4) เพื่ออนุรักษ์อาหารไทย/พืชสมุนไพรท้องถิ่นที่สามารถป้องกันและรักษาสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุรู้จักการดูแลสุขภาพตนเองด้วยอาหารไทย/พืชสมุนไพรท้องถิ่นที่สามารถป้องกันและรักษาสุขภาพ
100.00

 

5 5) เพื่อบูรณาการการดูแลร่วมกับภาคีเครือข่าย
ตัวชี้วัด : มีการดูแลผู้สูงอายุร่วมกับภาคีเครือข่าย คิดเป็นร้อยละ
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อการส่งเสริมป้องกันโรค (Health Promotion) ในประชาชนทุกกลุ่มอายุ และมุ่งเน้นในกลุ่มผู้สูงอายุที่ ช่วยเหลือตัวเองได้และช่วยเหลือตนเองไม่ได้ (2) 2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เข้าสังคมและพบปะเพื่อนฝูง (3) 3) เพื่อเปิดพื้นที่ให้ผู้สูงอายุได้แสดงออกถึงศักยภาพ สร้างคุณค่าให้ตัวเอง (4) 4) เพื่ออนุรักษ์อาหารไทย/พืชสมุนไพรท้องถิ่นที่สามารถป้องกันและรักษาสุขภาพ (5) 5) เพื่อบูรณาการการดูแลร่วมกับภาคีเครือข่าย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้และตรวจสุขภาพและชุดดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ พร้อมสาธิตเครื่องดื่มสมุนไพรพื้นถิ่นที่มีผลต่อการส่งเสริมสุขภาพและปรับสมดุลร่างกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมวิถีสุขภาพของชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ป้องกันโรค จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L61-L5254-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อบต.คูหา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด