กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม


“ โครงการส่งเสริมฑันตสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ”

ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.ปากแจ่ม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมฑันตสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด

ที่อยู่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1536-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมฑันตสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมฑันตสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมฑันตสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1536-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากแนวคิดระบบบริการคุณภาพโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวที่ต้องพัฒนาคุณภาพการบริการสุขภาพพื้นฐานในงานอนามัยแม่และเด็กโดยเริ่มตั้งแต่การดูแลครรภ์เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพมารดาและทารกปลอดภัยปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงต่อเนื่องถึงการดูแลเด็กในช่วงปฐมวัยเพื่อให้เด็กเจริญเติบโตและพัฒนาการอย่างสมวัยทั้งสุขภาวะทางกายอารมณ์สังคมและสติปัญญาโดยการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีนั้นย่อมส่งผลต่อการมีสุขภาพร่างกายที่ดีด้วย การป้องกันฟันผุในเด็กควรเริ่มตั้งแต่แม่ตั้งครรภ์เพราะฟันน้ำนมของเด็กเริ่มสร้างและมีการสะสมแร่ธาตุเกือบสมบูรณ์ขณะอยู่ในครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ร่างกายของแม่มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของระบบฮอร์โมนในร่างกายโดยเกิดจากมีการเปลี่ยนแปลงทางชีววิทยาของเหงือกพบว่าหญิงตั้งครรภ์มักมีปัญหาโรคปริทันต์อักเสบและหากหญิงตั้งครรภ์มีการดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ดีร่างกายจะยิ่งทำให้เหงือกอักเสบมีความรุนแรงยิ่งขึ้น และนอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์จะมีพฤติกรรมการกินอาหารที่เปลี่ยนไปคือ จะมีการกินอาหารระหว่างมื้อมากขึ้นซึ่งจะทำให้เสี่ยงต่อฟันผุได้ง่าย อาการแพ้ท้องของแม่จะมีการอาเจียนเอาน้ำย่อยจากกระเพาะอาหารซึ่งมีฤทธิ์เป็นกรดออกมาบ่อยหากละเลยการดูแลสุขภาพช่องปากหรือมีวิธีการดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้องก็จะทำให้ฟันผุง่ายกว่าคนปกติรวมถึงแม่ที่มีฟันผุจะมีเชื้อจุลินทรีย์ในช่องปากจำนวนมากซึ่งเชื้อนี้สามารถถ่ายทอดสู่ลูกได้ทางน้ำลายปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อการเกิดภาวะคลอดก่อนกำหนดและทารกมีน้ำหนักต่ำกว่ามาตรฐาน จากข้อมูลทางระบาดวิทยาของประเทศไทย พบว่าเด็กช่วงอายุ๐-๓ปีเป็นช่วงที่อัตราการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมของเด็กเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพจังหวัดตรังปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙พบเด็กอายุ ๓ปี มีฟันผุร้อยละ ๖๕.๙๖๗.๕๕๘.๕๕๐.๕ และ ๔๘.๔ตามลำดับ[1]แม้ว่าอัตราการเกิดฟันผุจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้น แต่อัตราการเกิดฟันผุยังอยู่ในเกณฑ์สูงและเป็นปัญหาที่สำคัญ จากการศึกษาของ พิศิษฐ์ สมผดุงและคณะ[2] เรื่อง ประสิทธิผลของกิจกรรมการควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์บนตัวฟันในหญิงตั้งครรภ์ต่อการมีฟันน้ำนมผุในเด็กอายุ๖-๓๐เดือน ของตำบลโนนไทย อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมาพบว่าสภาวะการผุของฟันเด็กในมารดาที่ได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันด้วยการย้อมสีฟันระหว่างตั้งครรภ์ เมื่อเด็กมีอายุ ๑๘-๓๐เดือน มีฟันผุ ร้อยละ ๒๗.๒๗ส่วนเด็กในมารดาที่ได้รับคำแนะนำปกติ เมื่อเด็กมีอายุ ๑๘-๓๐เดือนพบว่ามีฟันผุร้อยละ ๖๓.๗๓ พบว่ามีการเพิ่มขึ้นของค่าเฉลี่ยฟันผุในเด็ก ระหว่างมารดาทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมฑันตสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L1536-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.สต.ปากแจ่ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด