กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง


“ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0 - 6 ปี ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจิรัฐติกาลเจ๊ะสา

ชื่อโครงการ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0 - 6 ปี

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2561 ถึง 20 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0 - 6 ปี จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0 - 6 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0 - 6 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2561-L5309-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2561 - 20 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,780.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการที่ดี เป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิตโดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโตตั้งแต่ในครรภ์จนถึงวัยรุ่น เนื่องจากการเจริญเติบโตมีทั้งด้านสมองและร่างกาย หากขาดอาหาร สิ่งที่พบคือเด็กตัวเล็ก ผอม เตี้ย ซึ่งเป็นการแสดงออกทางด้านร่างกาย แต่ผลที่เกิดขึ้นมิใช่แค่เพียงร่างกายเท่านั้น ยังมีผลต่อการพัฒนาสมองด้วยทำให้สติปัญญาต่ำ เรียนรู้ช้า ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เมื่อเป็นผู้ใหญ่ ประสิทธิภาพการทำงานจะต่ำ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ ดังนั้น อาหารเป็นปัจจัยสำคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพของเด็ก รวมทั้งพัฒนาการของเด็ก เด็กที่กินอาหารครบ 5 หมู่และมีความหลากหลาย ในปริมาณที่พอเหมาะ จะมีการเจริญเติบโตดี การพัฒนาของสมองดีเด็กจะฉลาด เรียนรู้เร็ว มีความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลทำให้พัฒนาการของเด็กเหมาะสมตามวัย และในทางตรงข้าม เด็กที่ได้รับสารอาหารไม่พียงพอ ย่อมมีผลทำให้การพัฒนาของสมองไม่ดี ไม่ฉลาด ไม่อยากเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว เป็นผลให้มีพัฒนาการไม่เหมาะสมตามวัย แม้เด็กจะได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ จะไม่สามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้หากยังไม่แก้ไขในเรื่องการขาดอาหารของเด็กเสียก่อน ปัญหาที่พบจากการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย พบว่า เด็ก 0-6 ปี ยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการเป็นจำนวนมาก สาเหตุและปัจจัยของภาวะทุพโภชนาการเกิดจากหลายสาเหตุร่วมกันตั้งแต่ 1. ปัญหาทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ 2. แหล่งอาหารในชุมชน 3. ความจำกัดของครอบครัวที่จะผลิตหรือซื้ออาหาร 4. การขาดความรู้ที่ถูกต้องของครอบครัวในการเลี้ยงดู และการจัดอาหารให้แก่ทารกและเด็ก และมีความเชื่อบางอย่างถึงข้อห้ามกินอาหารบางชนิด 5. การเจ็บป่วยของทารกและของเด็ก ทำให้เด็กได้รับสารอาหารเข้าสู่ร่างกายได้น้อย เช่น ปัญหาการติดเชื้อ ปัญหาท้องร่วง/ท้องเสียเรื้อรัง การดูดซึมสารอาหารจากลำไส้ไม่ดี ท่อน้ำดีตีบตัน ทำให้การดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมันผิดปกติ เช่น วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินอี และวิตามินเค 6. ปัญหาพันธุกรรมบางอย่างทำให้ไม่สามารถกินอาหารได้ปกติ เพราะมีความผิดปกติในการย่อยสารอาหารบางอย่าง 7. การขาดความเอาใจใส่ในการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพตามวัย จากข้อมูลชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก 0-6 ปี ในเขตตำบลกำแพง ในปี พ.ศ. 2559-2560 (แบ่งเป็น 4 งวด) พบว่า เด็ก 0-6 ปีสูงดีสมส่วน เฉลี่ยร้อยละ 37.70 , 48.27 , 47.35 , 40.50 ตามลำดับ ซึ่งจะต่ำกว่าค่าเฉลี่ยเป้าหมายแผนสาธารณสุข ที่กำหนดไว้ว่า เด็ก 0-6 ปี ที่มีรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 80 การประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก จะทำให้ทราบว่าเด็กได้รับสารอาหาร (คาร์โบไฮเดรท ไขมัน โปรตีน ) เพียงพอหรือไม่ ทั้งนี้การเจริญเติบโตของเด็ก 0-6 ปี เปลี่ยนแปลงได้ง่าย จึงจำเป็นต้องมีการประเมินการเจริญเติบโตทุก 3 เดือน เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโต ทำให้สามารถส่งเสริมการเจริญเติบโต หรือป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาโภชนาการด้านขาดและเกิน และหากมีปัญหาโภชนาการแล้ว จะได้จัดการแก้ไขได้ทันท่วงที จากสภาพปัญหาดังกล่าว ศูนย์สุขภาพชุมชนกำแพง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-6 ปี ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-6 ปีมีภาวะโภชนาการที่ดี และมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโต สมวัย ตลอดจนสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโภชนาการและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ ในเด็ก 0-6 ปี ในชุมชน
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-6 ปีที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโต สมวัย
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กทุพโภชนาการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็ก 0-6 ปี
  4. เพื่อให้เด็กทุพโภชนาการ ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ต่อเนื่อง และได้รับการส่งต่อ อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เฝ้าระวัง ในชุมชน
  2. อบรมให้ความรู้
  3. ติดตามเยี่ยม
  4. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 231
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็ก 0-6 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการอย่างครอบคลุม 2.เด็ก 0-6 ปี ที่เสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการอย่างถูกต้อง เหมาะสม 3.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กอย่างถูกต้อง เหมาะสม 4.เด็ก 0-6 ปี มีรูปร่างดีสมส่วน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ ในเด็ก 0-6 ปี ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เด็ก 0-6 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-6 ปีที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโต สมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เด็ก 0-6 ปีที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีพัฒนาการสมวัย
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กทุพโภชนาการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็ก 0-6 ปี
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ผู้ปกครองเด็ก 0-6 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 2 ร้อยละ 80 เด็ก 0-6 ปี มีรูปร่างดีสมส่วน
0.00

 

4 เพื่อให้เด็กทุพโภชนาการ ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ต่อเนื่อง และได้รับการส่งต่อ อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เด็ก 0-6 ปี ที่มีความผิดปกติรุนแรง ได้รับการส่งต่อพบแพทย์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 231
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 231
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ ในเด็ก 0-6 ปี ในชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-6 ปีที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโต สมวัย (3) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กทุพโภชนาการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็ก 0-6 ปี (4) เพื่อให้เด็กทุพโภชนาการ ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ต่อเนื่อง และได้รับการส่งต่อ อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เฝ้าระวัง ในชุมชน (2) อบรมให้ความรู้ (3) ติดตามเยี่ยม (4) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0 - 6 ปี จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจิรัฐติกาลเจ๊ะสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด