กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ


“ โครงการขยะแลกบุญ ”

ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอาลีย๊ะ วาและ

ชื่อโครงการ โครงการขยะแลกบุญ

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2488-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขยะแลกบุญ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขยะแลกบุญ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขยะแลกบุญ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2488-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุเนื่องจากประชากรมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่าง ๆ มีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย แต่ความสามารถในการกำจัดขยะมีอย่างจำกัด ส่งผลให้มีขยะตกค้างเป็นจำนวนมากในแต่ละวัน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ ชุมชนสกปรก ไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธ์สัตว์ และพาหะนำโรคต่าง ๆ เช่น ยุง หนู แมลงสาบ ก่อให้เกิดโรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย ไข้ชิคุนกุนย่า เป็นต้น ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง เกิดการปนเปื้อนของสารพา เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดิน แหล่งน้ำเน่าเสีย ท่อระบายน้ำอุดตัน อันเป็นสาเหตุของน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดของมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควันจากการเผาขยะ ซึ่งมีผลต่อภาวะโลกร้อน

ในปี 2560ตำบลบาเจาะมีอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกสูงสุดในอำเภอบาเจาะ มีประชากรที่ป่วยทั้งหมด 18 คน คิดเป็นอัตราป่วย 134.74 คน/แสนประชากร จากข้อมูลการเฝ้าระวังของโรงพยาบาลบาเจาะ พบว่าแหล่งเพาะพันธ์ยุงที่พบมากที่สุด คือ แหล่งที่มีขยะ ดังนั้น ขยะเป็นปัญหาและสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบาเจาะ ที่พบว่ามีขยะทิ้งข้างถนนหนทาง ทิ้งขยะไม่เป็นที่ ไม่มีการคัดแยกขยะ รวมถึงขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ ประชาชนส่วนใหญ่ละเลยและไม่เห็นคุณค่าของขยะ หากประชาชนมีความรู้และมีความตระหนักที่จะนำขยะมาคัดแยกให้ถูกวิธี ก็จะสามารถสร้างประโยชน์ได้ และนำกลับมาใช้หมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้ง

ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาเจาะ จึงได้จัดทำโครงการขยะแลกบุญ นำร่องในพื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลบาเจาะ ปีงบประมาณ 2561 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะเป็นที่นำร่องในพื้นที่ของตำบลบาเจาะและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพประชาชน ลดการเกิดโรคระบาดในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการขยะในชุมชน และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานการมีส่วนร่วมการจัดการขยะแก่คณะทำงาน
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนแก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวและตัวแทน อสม.ในหมู่ที่ 7
  3. อบรมให้ความรู้ "ร่วมพลังช่วยกันแยก ช่วยลด หมดปัญหาขยะ" แก่ครูอนามัยโรงรียนและนักเรียนโรงเรียนดูกู ชั้น ป.5-ป.6
  4. เรียนรู้การคัดแยกขยะ
  5. รณรงค์การมีส่วนร่วมการจัดการขยะในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อมรอบบ้าน และชุมชนให้น่าอยู่เน้นการปลุกจิตสำนึกรักความสะอาด
  6. จัดทำจุดคัดแยกขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความตระหนักและตื่นตัวในการจัดการขยะของชุมชน

2.อัตราที่เกิดจากยุง แมลงวันลดลง

3.เกิดกลุ่มแกนนำชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม

4.เป็นหมู่บ้านตัวอย่างในการจัดการขยะโดยคนในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการขยะในชุมชน และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานการมีส่วนร่วมการจัดการขยะแก่คณะทำงาน

วันที่ 18 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการขยะในชุมชนและชั้แจงแนวทางการดำเนินงานการมีส่วนร่วมการจัดการขยะให้แก่คณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้คณะทำงานทราบบทบาทหน้าที่ และแนวทางการดำเนินโครงการ

 

10 0

2. อบรมให้ความรู้เรื่องการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนแก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวและตัวแทน อสม.ในหมู่ที่ 7

วันที่ 31 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนแก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวและตัวแทน อสม. เช่น ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ นำเสนอแนวทางการจัดการขยะของชุมชน เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ เกิดกลุ่มแกนนำชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

 

50 0

3. อบรมให้ความรู้ "ร่วมพลังช่วยกันแยก ช่วยลด หมดปัญหาขยะ" แก่ครูอนามัยโรงรียนและนักเรียนโรงเรียนดูกู ชั้น ป.5-ป.6

วันที่ 1 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่ครูอนามัยโรงเรียนและนักเรียนโรงเรียนบ้านดูกู ชั้น ป.5-ป.6 จำนวน 40 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ เกิดกลุ่มแกนนำชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

 

40 0

4. เรียนรู้การคัดแยกขยะ

วันที่ 15 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เรียนรู้ศึกษาดูงานการคัดแยกขยะ ณ โรงงานวงศ์วานิช อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการเรียนรู้การคัดแยกขยะและสามารถนำไปปรับใช้ในการคัดแยกขยะในชุมชน

 

15 0

5. รณรงค์การมีส่วนร่วมการจัดการขยะในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อมรอบบ้าน และชุมชนให้น่าอยู่เน้นการปลุกจิตสำนึกรักความสะอาด

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมรณรงค์การมีส่วนร่วมการจัดการขยะในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อมรอบบ้าน และชุมชนให้น่าอยู่เน้นการปลุกจิตสำนึกรักความสะอาด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้ชุมชนมีจิตสำนึกในการจัดการขยะในชุมชน สำนึกรักความสะอาด เกิดเป็นหมู่บ้านตัวอย่างในการจัดการขยะโดยคนในชุมชน

 

50 0

6. จัดทำจุดคัดแยกขยะ

วันที่ 24 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จ้างทำชุดถังขยะ จำนวน 2 ชุด พร้อมป้ายคัดแยกขยะ จำนวน 2 ชุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีจุดคัดแยกขยะ ณ มัสยิดดารุลมะมุร์ หมู่ที่ 7

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการขยะในชุมชน และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานการมีส่วนร่วมการจัดการขยะแก่คณะทำงาน (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนแก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวและตัวแทน อสม.ในหมู่ที่ 7 (3) อบรมให้ความรู้ "ร่วมพลังช่วยกันแยก ช่วยลด หมดปัญหาขยะ" แก่ครูอนามัยโรงรียนและนักเรียนโรงเรียนดูกู ชั้น ป.5-ป.6 (4) เรียนรู้การคัดแยกขยะ  (5) รณรงค์การมีส่วนร่วมการจัดการขยะในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อมรอบบ้าน และชุมชนให้น่าอยู่เน้นการปลุกจิตสำนึกรักความสะอาด (6) จัดทำจุดคัดแยกขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขยะแลกบุญ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2488-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาลีย๊ะ วาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด