กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการวัคซีนในวิถีมุสลิม ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางนอร์มาห์ ไชยลาภ




ชื่อโครงการ โครงการวัคซีนในวิถีมุสลิม

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2488-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัคซีนในวิถีมุสลิม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัคซีนในวิถีมุสลิม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัคซีนในวิถีมุสลิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2488-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการให้วัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง 72 เดือน เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญ เพราะเด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในอนาคต เด็กที่มีคุณภาพ คือ เด็กที่มีการเจริญเติบโตสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม มีพัฒนาการสมวัย หากเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับแต่ไม่ครบตามเกณฑ์ จะส่งผลทำให้เด็กมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งอาจเป็นโรคที่มีความรุนแรงถึงชีวิตได้ บิดา มารดาและครอบครัว คือ บุคคลที่มีบทบาทสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก และสร้างเสริมประสบการณ์ต่าง ๆ ให้แก่เด็ก หากบิดา มารดาและครอบครัว ขาดความรู้ความเข้าใจ ไม่เห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก จะส่งผลต่อภาวะสุขภาพของเด็ก กรมควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข จึงได้กำหนดให้เด็กในแต่ละช่วงอายุควรได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โดยความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในแต่ละช่วงอายุ ต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 90

จากผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเขตตำบลบาเจาะ ยังมีความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด สามารถวิเคราะห์สาเหตุที่เด็กได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ เนื่องจากผู้ปกครองขาดความตระหนัก ไม่เห็นความสำคัญของการรับวัคซีน นำเด็กมาฉีดวัคซีนช้ากว่ากำหนด จึงทำให้เข็มต่อไปช้าไปด้วย ผู้ปกครองกลัวว่าเด็กจะเป็นไข้ ผู้ปกครองไม่มีเวลาเนื่องจากต้องทำงาน เด็กต้องตามผู้ปกครองไปทำงานต่างถิ่น/ต่างประเทศ เด็กไม่อยู่ในพื้นที่และไม่สามารถติดตามให้เด็กมารับบริการฉีดวัคซีนได้ เป็นต้น โดยเฉพาะหมู่ที่ 3, 5 และ 7 ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่มีพื้นที่กว้างและประชากรมีจำนวนมาก มากกว่าหมู่บ้านอื่น ๆ จึงมีผลกระทบทำให้เด็กไม่มารับบริการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์จากปัญหาดังกล่าว ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต้องให้ความรู้ คำแนะนำ แก่บิดา มารดา และครอบครัวของเด็ก ให้เห็นถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนตามวัย

จากเหตุการณ์ดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลบาเจาะ ได้เล็งเห็นปัญหา จึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่ต้องมีการรณรงค์ให้เด็กแรกเกิดถึง 72 เดือนในพื้นที่ ต้องไม่รับการติดตาม เพื่อให้ได้รับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์ เพื่อลดอัตราป่วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการวัคซีนในชุมชนแก่คณะทำงาน
  2. อบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีนให้แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์
  3. อบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีนให้แก่กลุ่มผู้ปกครองที่มีบุตรอายุ 0-72 เดือน
  4. จัดทำไวนิลรณรงค์และประชาสัมพันธ์
  5. มหกรรม "เด็กสุขภาพดี"

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็ก 0-72 เดือนได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์อายุ

2.อัตราป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง

3.ชุมชนมีความตระหนักและทราบถึงบทบาทในการทำงานด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการวัคซีนในชุมชนแก่คณะทำงาน

วันที่ 20 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการวัคซีนในชุมชนให้แก่คณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้เรื่องวัคซีน และมีแนวทางปฏิบัติที่มาจากคนในชุมชน

 

10 0

2. อบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีนให้แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์

วันที่ 21 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีนให้แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์ จำนวน 40 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้รับความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีน 2.ทำให้เด็กที่อายุ 0-72 เดือนได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ

 

40 0

3. อบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีนให้แก่กลุ่มผู้ปกครองที่มีบุตรอายุ 0-72 เดือน

วันที่ 22 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีนให้แก่กลุ่มผู้ปกครองที่มีบุตรอายุ 0.72 เดือน จำนวน 40 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้รับความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีน 2.ทำให้เด็กอายุ 0-72 เดือน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ 3.สามารถลดการเกิดโรคระบาดในพื้นที่

 

40 0

4. จัดทำไวนิลรณรงค์และประชาสัมพันธ์

วันที่ 23 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จ้างทำป้ายไวนิลรณรงค์และประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถกระตุ้นและเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับวัคซีน

 

0 0

5. มหกรรม "เด็กสุขภาพดี"

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมมหกรรม "เด็กสุขภาพดี" พร้อมให้บริการฉีดวัคซีน และสาธิตการจัดทำอาหารสำหรับเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.สามารถกระตุ้นผู้ปกครองให้มีความเอาใจใส่ในเรื่องการฉีดวัคซีน 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เกี่ยวกับอาหารสำหรับเด็กในแต่ละวัย 3.เด็กที่มีอายุ 0-72 เดือน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 190
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการวัคซีนในชุมชนแก่คณะทำงาน (2) อบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีนให้แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์ (3) อบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีนให้แก่กลุ่มผู้ปกครองที่มีบุตรอายุ 0-72 เดือน (4) จัดทำไวนิลรณรงค์และประชาสัมพันธ์ (5) มหกรรม "เด็กสุขภาพดี"

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัคซีนในวิถีมุสลิม จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2488-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนอร์มาห์ ไชยลาภ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด