กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ”

ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายธิติ สิทธิศักดิ์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน

ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L7573-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L7573-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจุจบันสภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนไปสู่ความเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อแบบแผนการบริโภคอาหารของครอบครัวและเด็กในวัยเรียนเป็นอย่างมาก การบริโภคอาหารที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีพทำให้เกิดการบริโภคอาหารประเภทจานด่วนอาหารสำเร็จรูปเข้ามามีบทบาทโดยเฉพาะกับเด็กวัยเรียนซึ่งอาหารประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัยและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆรวมทั้งการติดเกมส์ทำให้เด์กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหวและออกกำลังกายน้อยลงองค์ประกอบเหล่านี้เป็นสาเหตุของการเกิดโรคอ้วนอันตรายของโรคอ้วนในเด็ก ซึางโรคอ้วนในเด็กกำลังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศไทยจากข้อมูลระบบ HealthDAta Center (HDC) ของกระทรวงสาธารณสุขพบว่า ปี 2558เด็กวัยเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 11.4และปี 2560 เพิ่มขึ้นเป็ร้อยละ 12.5 เด็กวัยเรียนที่มีภาวะอ้วนมีโอกาสเป็นโรคร้ายแรงอื่นๆได้มากกว่าปกติเช้านโรคหัวใจขาดเลือด โรคไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน ข้ออักเสบ ขาโก่ง รวมทั้งสมาธิสั้นนอกจากนี้ในกรณีที่เด็กที่ป่วยด้วยโรคอ้วนขั้นรุนแรงมีผลกระทบต่อทางเดินหายใจทำให้เกิดการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คือ ทำให้เกิดกลุ่มอาการ Pickwickian Syndromeส่งผลขัดขวางต่อการเรียนหนังสือทำให้ง่วงนอนทุกครั้งที่นั่งเรียน เนื่องจากสถานการณ์ภาวะโภชนาการในโรงเรีบนบ้านควนขนุนพบว่าสถานการณ์แนวโน้อมของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กนักเรียน 2559 ร้อยละ 11.11 และปี 2560 ร้อยละ 15.48ซึงอัตราของภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านควนขนุนสูงกว่าเกณฑ์เป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ 10 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทางศูนย์พัฒฯาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลควนขนุนและศูนย์แพทย์ชุมชนเทศบาลตำบลควนขนุน ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกินเพื่อให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพการดูแบสุขภาพการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสถขภาพ และให้โรงเรียนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานแก้ไต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพในกลุ่มเด็กที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน
  2. 2.เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. 2ส
  2. กิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมกับผู้ปกครอง
  3. กิจกรรมติดตามเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเกิน
  4. กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กราปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กนักเรียนอายุ 6-14 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส. 2.นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินมีน้ำหนักลดลง 3.นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. 2ส

วันที่ 30 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ชี้แจงโครงการและทำพันธสัญญาผู้ร่วมโครงการ
  • ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ก่อนร่วมโครงการ
  • ให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย โดยวิทยากรจากมหาวิทยาลัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียน อายุ 6 - 14 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. 2ส มีความพึงพอใจ ร้อยละ 80

 

25 0

2. กิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมกับผู้ปกครอง

วันที่ 4 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โดยการจัดฐานการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 3 ฐาน ได้แก่ ฐานอาหาร ฐานฉลากโภชนาการ และฐานอารมณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนและผู้ปกครองตระหนักถึงการเลือกรับประทานอาหารที่มีโภชนาการเกิน

 

50 0

3. กิจกรรมติดตามเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเกิน

วันที่ 14 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเกินและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กที่มีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนและอ้วนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ ร้อยละ 80

 

25 0

4. กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กราปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 25 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กับนักเรียน คุณครู 2.มอบของที่ระลึกให้กับนักเรียนที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดีเด่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดีขึ้น ร้อละ 60 มีน้ำหนักลดลง ร้อยละ 60

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพในกลุ่มเด็กที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจร้อยละ 80
20.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนพฤติกรรมดีขึ้น ร้อยละ 60 มีน้ำหนักลดลงร้อยละ 60
20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพในกลุ่มเด็กที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน (2) 2.เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. 2ส (2) กิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมกับผู้ปกครอง (3) กิจกรรมติดตามเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเกิน (4) กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กราปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L7573-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธิติ สิทธิศักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด