กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการให้ความรู้และสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกรจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชประจำปี 2560 ”

ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรม อสม.ในเขตรพ.สต.บ้านศาลาตำเสา

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้และสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกรจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-50105-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้และสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกรจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชประจำปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้และสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกรจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้และสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกรจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-50105-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการตรวจระดับเอ็น"ซม์โคลีนเอสเตอเรส ของกลุ่มที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและอาชีพรับจ้างในปี 2559 ในพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา ตำบลชะมวง พบว่าผลตรวจสุขภาพของกลุ่มที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและอาชีพรับจ้าง จำนวน 50 คน พบอัตราผู้มีระดับโคลีนเอสเตอเรสในกระแสโลหิต มีระดับความเสี่ยงจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 34 ไม่ปลอดภัยจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2 ตรวจพบปกติ 1 คน ร้อยละ 2 พบผลปลอดภัยจำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 62 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา ได้ดำเนินการวิจัยเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีผลต่อการใช้สารเคมีพบว่ากลุ่มชาวนาส่วนใหญ่ไม่เคยผ่านการอบรมเกี่ยวกับการใช้สารเคมีที่ถูกวิธีจากภาครัฐ คิดเป็นร้อยละ 92.3 พฤติกรรมความปลอดภัยในการใช้สารเคมีคืออายุ ประสบการณ์เกิดอาการแพ้พิษจากสารเคมี และพบปัญหาอุปสรรคในการป้องกันสารเคมี คือปัญหาการใช้ถุงมือ การใช้แว่นตา และการสวมรองเท้าบูท และผลจากการศึกษาวิจัยแสดงให้เห็นว่าชาวนาไมาสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ชาวนาส่วนใหญ่เชื่อว่าร่างกายทนต่อสารเคมีในปริมาณมาก ๆ ได้ องค์การบริหารส่วนตำบลชะมวง โดยอาศัยอำนาจหน้าที่ตามมาตรา 66 ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 67 (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ จึงร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันและลดอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด ปี 2560 ขึ้น เพื่อให้เกษตรกรเกิดความตระหนักในการป้องกันตนเองตากการใช้สารเคมี เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพของตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช หมู่บ้านละ 10 คน ได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดทุกคน
  2. เพื่อให้เกษตรกรที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับเสี่ยง ระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติิกรรมร้อยละ 80
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย เพิ่มขึ้นร้อยละ 15

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดทุกคน
    2. ประชาชนที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติิกรรมร้อยละ 80
    3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย เพิ่มขึ้นร้อยละ 15

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ให้ความรู้และเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้าง

    วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเสี่ยงเกษตรกรได้รับความรู้ในเรื่องการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง  และได้รับการเจาะเลือดเพื่อหาสารเคมีในเลือดครั้งที่ 1 จำนวน 50 คน  ผลปรากฎว่า ผลเสี่่ยงจำนวน 4 คน  ผลปลอดภัย จำนวน 46 คน ผลไม่ปลอดภัยไม่มี  และครั้งที่ 2 จำนวน 50 คน  ผลปรากฎว่า ผลเสี่่ยงจำนวน 4 คน  ผลปลอดภัย จำนวน 45 คน ผลไม่ปลอดภัย จำนวน 1 คน

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงาน       ได้ให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบ  จำนวน  50  คน  และได้เจาะเลือดครั้งที่ 1 จำนวน 50 คน ผลปรากฎดังนี้  ผลเสี่ยง จำนวน 4 คน  ผลปลอดภัย จำนวน 46 คน ผลไม่ปลอดภัยไม่มี
          ได้เจาะเลือดครั้งที่ 2 จำนวน 50 คน ผลปรากฎดังนี้  ผลเสี่ยง จำนวน 4 คน  ผลปลอดภัย จำนวน 45 คน ผลไม่ปลอดภัย  จำนวน 1 คน รายละเอียดการใช้งบประมาณ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 50 คน ๆ ละ 25 บาท                                            เป็นเงิน  1,375  บาท 2. ค่าตอบแทนวิทยากร                                                                                          เป็นเงิน  1,200  บาท 3. ค่าจ้างเหมาเจาะสารเคมีตกค้างในเลือด จำนวน 50 คน ๆ ละ 40 บาท จำนวน 2 ครั้ง          เป็นเงิน  4,000  บาท 

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช หมู่บ้านละ 10 คน ได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดทุกคน
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดทุกคน

     

    2 เพื่อให้เกษตรกรที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับเสี่ยง ระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติิกรรมร้อยละ 80
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 80

     

    3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย เพิ่มขึ้นร้อยละ 15
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย เพิ่มขึ้นร้อยละ 15

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช หมู่บ้านละ 10 คน ได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดทุกคน (2) เพื่อให้เกษตรกรที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับเสี่ยง ระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติิกรรมร้อยละ 80 (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย เพิ่มขึ้นร้อยละ 15

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการให้ความรู้และสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกรจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชประจำปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-50105-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ประธานชมรม อสม.ในเขตรพ.สต.บ้านศาลาตำเสา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด