กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละมอ


“ โครงการพัฒนารูปแบบคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในชุมชน ”

ตำบลละมอ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
1 นางประคิ่นเพ็ชรย้อย 2 นางดรุณีชัยสุข 3 นางบุญนัดบริโท 4 นางสาวจุฑามาศแสงจันทร์ 5 นายสุวิทย์ดีเบา

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนารูปแบบคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลละมอ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1478-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนารูปแบบคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละมอ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนารูปแบบคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนารูปแบบคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละมอ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1478-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมองเป็นภัยเงียบที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน หากไม่หลีกเลี่ยงหรือลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคก็จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาของร่างกายร่วมกับปัจจัยอื่นๆก่อให้เกิดอาการเมตาบอลิก ได้แก่การมีไขมันในเลือดผิดปกติ ความดันโลหิตสูง มีภาวะดื้อฮอร์โมนอินซูลิน นอกจากนี้ยังมีภาวะผิดปกติอื่นๆในกระแสเลือดแข็งตัวได้ง่ายจนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพอย่างเงียบๆ ก่อให้เกิดโรคหลายอย่างซึ่งเป็นสาเหตุการตายในระยะต้นๆ ได้แก่พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ความเครียด ดื่มสุรา สูบบุหรี่ ภาวะฮอร์โมนผิดปกติ รวมถึงปัจจัยด้านอายุเพิ่มมากขึ้นยิ่งมีผลต่อความเสี่ยงในการเกิดโรคมากขึ้น ดังนั้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายเพื่อควบคุมและลดน้ำหนักตัว ควบคุมอารมณ์ งดดื่มสุรา งดสูบบุหรี่ ซึ่งทุกคนสามารถกระทำโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย ซึ่งสอดคล้องกับกระแสการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพโดยการพึ่งพาตนเอง จากผลการดำเนินงานของหมู่ที่ 2 ตำบลละมอ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง ในปี 2560 พบว่า ประชากร 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 364คนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค64คน คิดเป็นร้อยละ17.58ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 364คนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค 7 คน คิดเป็นร้อยละ 1.92 จากความสำคัญดังกล่าวข้างต้น หมู่ที่ 2 ตำบลละมอ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนารูปแบบคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชนขึ้น เพื่ออบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงให้รู้จักโรค ตระหนักถึงปัญหา ละภัยของโรค มีความตื่นตัวเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง รู้วิธีป้องกันไม่ให้เกิดโรคและมีรูปแบบกิจกรรมในชุมชน โดยจัดทีมออกเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง เพื่อเยี่ยมดูแลให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และผู้ที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะเสื่ยง
  2. 2 เพื่อพัฒนาความรู้คณะทำงาน ในการออกเยี่ยมดูแลกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน
  3. 3 เพื่อเยี่ยมดูแลให้กลุ่มเสี่ยงได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลดระดับความเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. -จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในชุมชน
  2. - คัดเลือกกลุ่มเสี่ยงต้นแบบ - ทีมออกเยี่ยมดูแลกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน (เดือนละ 1 ครั้งเป็นเวลา 3 เดือน) - จัดกิจกรรมประกวดครอบครัวกลุ่มเสี่ยงดีเด่น
  3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งความรู้เรื่องโรค การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย
  2. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองให้ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อป้องกันการเกิดโรค
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการเยี่ยมดูแลกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และผู้ที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะเสื่ยง
ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงลดลง 1.อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ 2.40
70.00 70.00

 

2 2 เพื่อพัฒนาความรู้คณะทำงาน ในการออกเยี่ยมดูแลกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน
ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงานมีความรู้ ความสามารถในการแนะนำกลุ่มเสี่ยง ให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะเสี่ยงได้
70.00 70.00

 

3 3 เพื่อเยี่ยมดูแลให้กลุ่มเสี่ยงได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลดระดับความเสี่ยง
ตัวชี้วัด : 1.มีทีมออกเยี่ยมดูแลกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน
70.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และผู้ที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะเสื่ยง (2) 2 เพื่อพัฒนาความรู้คณะทำงาน ในการออกเยี่ยมดูแลกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน (3) 3 เพื่อเยี่ยมดูแลให้กลุ่มเสี่ยงได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลดระดับความเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) -จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในชุมชน (2) - คัดเลือกกลุ่มเสี่ยงต้นแบบ - ทีมออกเยี่ยมดูแลกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน (เดือนละ 1 ครั้งเป็นเวลา 3 เดือน) - จัดกิจกรรมประกวดครอบครัวกลุ่มเสี่ยงดีเด่น (3) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนารูปแบบคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในชุมชน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1478-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1 นางประคิ่นเพ็ชรย้อย 2 นางดรุณีชัยสุข 3 นางบุญนัดบริโท 4 นางสาวจุฑามาศแสงจันทร์ 5 นายสุวิทย์ดีเบา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด