กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการปรับพฤติกรรมเพื่อลดภัยเงียบความดันโลหิตสูงเบาหวาน ในคลีนิก DPAC ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนนปี 2560 ”

ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
สถานีอนามัยบ้านหัวถนน

ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรมเพื่อลดภัยเงียบความดันโลหิตสูงเบาหวาน ในคลีนิก DPAC ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนนปี 2560

ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-50105-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับพฤติกรรมเพื่อลดภัยเงียบความดันโลหิตสูงเบาหวาน ในคลีนิก DPAC ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนนปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับพฤติกรรมเพื่อลดภัยเงียบความดันโลหิตสูงเบาหวาน ในคลีนิก DPAC ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนนปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับพฤติกรรมเพื่อลดภัยเงียบความดันโลหิตสูงเบาหวาน ในคลีนิก DPAC ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนนปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-50105-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่เป็นผลพวงจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต การกินอาหาร การขาดการออกกำลังกายของคนเราในปัจจุบัน ซึ่งเสมือน ภัยเงียบ ใกล้ตัว ที่กำลังคืบคลานถึงชีวิต… โรคเบาหวาน กลายเป็นโรคพบบ่อยอันดับต้นๆ เทียบเคียงใกล้กับโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และไขมันในเลือดสูง เป็นภัยอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต เพราะการเกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรงตามมาอีกมากมาย โดยสมาคมเบาหวานแห่งสหรัฐอเมริกาเคยคาดการณ์ไว้ว่าแนวโน้มผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกในอีกประมาณ 20ปีข้างหน้าหรือในราวปี 2573จะเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัว คิดเป็นตัวเลขผู้ป่วยราว 438ล้านคน จากเดิม 285ล้านคน ขณะที่ผู้ป่วยชาวไทยเอง ในปี 2553 พบว่า ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 20ปีถึง 79 ปี ป่วยเป็นโรคเบาหวาน 7.7%หรือราว 450,000 คนของประชากรทั่วประเทศ62 ล้านคนนั่นแสดงว่า คนไทยทุก 100 คน มีโอกาสเป็นโรคเบาหวานถึง 7-8 คนและโรคความดันโลหิตสูงก็เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ อัมพาต) ไตวาย โรคหลอดเลือดหัวใจ หัวใจขาดเลือด หัวใจล้มเหลว ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสาเหตุแห่งการเสียชีวิตที่สำคัญของคนไทย เป็นภัยเงียบที่คุกคามชีวิตเนื่องจากส่วนใหญ่ไม่มีอาการเตือนปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ ได้แก่ กรรมพันธุ์ เช่น มีพ่อ แม่ พี่น้อง เป็นโรคความดันโลหิตสูง และอายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไปส่วนปัจจัยเสี่ยงควบคุมได้ ได้แก่ รับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด หวานจัด มันจัด ไขมันในเลือดสูง ภาวะเบาหวาน ขาดการออกกำลังกาย อ้วนหรือมีน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น เครียดเรื้อรัง สูบบุรี่ และดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ดังนั้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคการออกกำลังกายเพื่อควบคุมระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด ควบคุมน้ำหนักตัวควบคุมอารมณ์งดการดื่มสุราและการสูบบุหรี่จึงเป็นแนวทางแรกของการลดภัยเงียบ ซึ่งทุกคนสามารถกระทำได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายซึ่งสอดคล้องกับกระแสการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพโดยการพึ่งพาตนเอง จากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุงจำนวน 80 คน พบว่าเสี่ยงเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 71.25 ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2559 รับการคัดกรอง 1,484 คน พบเสี่ยง(ระดับน้ำตาลในเลือด 100-126 mgdl) จำนวน 426 คน คิดเป็นร้อยละ 28.70ของกลุ่มที่ได้รับการคัดกรอง พบเสี่ยงสูง (ระดับน้ำตาลในเลือด มากกว่า 126 mgdl) จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 2.96ของกลุ่มที่ได้รับการคัดกรอง พบผู้ป่วยรายใหม่ขึ้นทะเบียนจำนวน 13 ราย อัตราป่วยรายใหม่คิดเป็น 433.19 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 201 คน มีภาวะแทรกซ้อน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 57.21และจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง พบเสี่ยง(ระดับความดันโลหิต SBP120-139 mmHg หรือ DBP 80-89 mmHg) จำนวน 695 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50ของกลุ่มที่ได้รับการคัดกรอง พบเสี่ยงสูง (ระดับความดันโลหิต SBP>=140mmHg หรือ DBP >=90 mmHg)) จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 6.83ของกลุ่มที่ได้รับการคัดกรอง พบผู้ป่วยรายใหม่ขึ้นทะเบียนจำนวน 26 ราย อัตราป่วยรายใหม่คิดเป็น 866.38 ต่อแสนประชากรผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 474 คน มีภาวะแทรกซ้อน 205 คน คิดเป็นร้อยละ 43.24
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการปรับพฤติกรรมเพื่อลดภัยเงียบ ในคลินิก DPAC เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการเกิดโรคเรื้อรังลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบภาวะสุขภาพของตนเองได้
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ให้สามารถลดภาวะ ความโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดลงได้
  4. จัดตั้งคลินิก DPAC ในสถานบริการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ร้อยละของจำนวนผู้เข้าโปรแกรมบำบัดอย่างต่อเนื่อง
    2. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่มีค่า ความดัน ค่าระดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดลง
    3. มีการจัดตั้งคลินิก DPAC

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดซื้อเครื่องเสียง

    วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ดำเนินการจัดซื้อเครื่องเสียงติดตั้งในคลีนิค DPAC

     

    48 48

    2. ให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    วันที่ 4 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ DPAC จำนวน48คนได้อบรมให้ความรู้เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. จำนวน1 ครั้งใช้เวลา2วันมีกิจกรรม DPAC จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยยางยืด และบาสโลบไลน์แดนซ์เวลา16.00 น. - 17.30น. ทุกวัน เว้นวันอาทิตย์

     

    48 48

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.มีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ DPAC จำนวน  48  คน
    2.ให้ความรู้เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. จำนวน  1 ครั้ง  ใช้เวลา  2  วัน
    3.มีคลินิก DPAC จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยยางยืด และบาสโลบ  ไลน์แดนซ์  เวลา  16.00 น. - 17.30  น. ทุกวัน เว้นวันอาทิตย์ 4.ซื้อเครื่องเสียงติดตั้งในคลินิก DPAC จำนวน 1 ชุด รายละเอียดการใช้งบประมาณ 1. ค่าตอบแทนวิทยากร  จำนวน  3  คน                                                                                เป็นเงิน      8,400  บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 48  คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 วัน                    เป็นเงิน      4,800  บาท 3. ค่าอาหารกลางวัน              จำนวน 48  คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท จำนวน 2 วัน                    เป็นเงิน      6,720  บาท 4. ค่าจ้างทำเอกสารประกอบการคลินิก DPAC                                                                        เป็นเงิน      2,400  บาท 5. ค่าจัดซื้อเครื่องเสียงติดตั้งในคลินิก DPAC                                                                        เป็นเงิน    20,000  บาท                                                                                                                             รวมเป็นเงิน    42,320  บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบภาวะสุขภาพของตนเองได้
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้ทราบภาวะสุขภาพของตนเอง

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง

     

    3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ให้สามารถลดภาวะ ความโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดลงได้
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง

     

    4 จัดตั้งคลินิก DPAC ในสถานบริการ
    ตัวชี้วัด : จัดตั้งคลินิก DPAC ในสถานบริการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบภาวะสุขภาพของตนเองได้ (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ให้สามารถลดภาวะ ความโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดลงได้ (4) จัดตั้งคลินิก DPAC ในสถานบริการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับพฤติกรรมเพื่อลดภัยเงียบความดันโลหิตสูงเบาหวาน ในคลีนิก DPAC ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนนปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-50105-01-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สถานีอนามัยบ้านหัวถนน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด