โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ ”
ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางเนตรชนก หวังสม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองชีล้อม
ธันวาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ
ที่อยู่ ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1462-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 เมษายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองชีล้อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1462-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 เมษายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,360.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองชีล้อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขมีมากขึ้น ทำให้คนมีอายุยืนขึ้นขึ้น ดังนั้น ในปัจจุบันโครงสร้างของประชากรจึงเปลี่ยนไป ประชากรวัยเด็กมีสัดส่วนลดลง และมีแนวโน้มที่ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในอัตราที่เร็วมาก กลุ่มวัยสูงอายุก็มีจำนวนเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามสุขภาพของผู้สูงอายุต้องประสบกับภาวะทุพลภาพระยะยาวการเจ็บป่าวเรื้อรัง การเสื่อมสภาพของสมองและร่างกาย และประสบปัญหาถูกทอดทิ้ง ไม่มีผู้เลี้ยงดูเพิ่มขึ้น จาการศึกษาขนาดและแนวโน้มของประชากรสูงอายุ การเพิ่มขนาดและสัดส่วนประชากรสูงอายุไทยยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นประเด็นที่ทุกภาคส่วนจะต้องมีการเตรียมการด้านต่างๆ โดยเฉพาะการดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี สำหรับผู้สูงอายุตลอดจนการคุ้มครองดูแลให้ผู้สูงอายุ สามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต
ผู้สูงอายุหรือคนชรา ตามคำจำความขององค์การอนามัยโลก หมายถึงคนที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปทั้งเพศหญิงและเพศชาย ปัจจุบันประเทศต่างๆ ทั่วโลกมีอัตราการเพิ่มจำนวนของผู้สูงอายุมากขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี เหตุที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และการพัฒนางานด้านสาธารณสุขทำให้สุขภาพอนามัยของประชาชนดีขึ้นและมีอายุยืนยาวทำให้ผู้สูงอายุในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น
ผู้สูงอายุถือได้ว่าเป็นทรัพยากรของชาติที่มีคุณค่า ทุกคนควรให้ความรักเคารพ และดูแลเอาใจใส่เนื่องจากเป็นผู้ที่สร้างประโยชน์แก่ประเทศชาติมาก่อนสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรมอันดีไปสู่ลูกหลาน แต่ปัจจุบันผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานมากขึ้นทำกิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องของความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น ฉะนั้นผู้สูงอายุควรต้องได้รับความรู้ในเรื่อง การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพปากและฟัน การป้องกันอุบัติเหตุเหล่านี้เป็นต้น เพื่อที่จะสามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตัวเองได้ ทำให้เกิดปัญหาได้น้อยที่สุดและส่งผลให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส ช่วยให้คนรอบข้างหรือครอบครัวทั้งสังคมมีความสุขด้วยและครอบครัวเป็นสถาบันที่เล็กที่สุดแต่มีความสำคัญที่สุด ถ้าครอบครัวให้ความสำคัญและเล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุด้วยแล้วครอบครัวและสังคมไทยจะมีความสุข และทุกคนมีสุขภาพจิตที่ดีส่งผลให้ร่างกายดีตามมาเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและส่งเสริมสถาบันครอบครัวดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองชีล้อมจึงได้ทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยดีสามารถดูแลตนเองได้
- 2. เพื่อส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่องในชุมชนตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพ การเยี่ยมกันเองในกลุ่มผู้ป่วย และการดูแลซึ่งกันและกันระยะยาว
- 3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต ให้ผู้สูงอายุได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
- 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการส่งเสริมสุขภาพ และแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างครอบคลุม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ
- ให้ความรู้ทั่วไป เรื่องสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง
- สาธิตแนะนำการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุทุกคนมีสุขภาพกาย สุขภาพใจ และสุขภาพจิตที่ดี
๒. ผู้สูงอายุได้พบประสังสรรค์ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์มีโลกทัศน์กว้างขึ้น มีความรู้ในการป้องกัน
โรคที่ถูกต้อง
3. ได้รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องในชุมชนที่ครอบคลุมทุกกลุ่มประเภทของผู้สูงอายุ
4. มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานงานกับเครือข่ายและหน่วยงานราชการที่มีส่วน
เกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพกาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ
วันที่ 27 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพ และได้รับความรู้ในเรื่องของการดูแลสุขภาพผู้สูงอยุ
60
0
2. ให้ความรู้ทั่วไป เรื่องสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง
วันที่ 27 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ให้ความรู้ทั่วไป เรื่องสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ให้ความรู้ทั่วไป เรื่องสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง
60
0
3. สาธิตแนะนำการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย
วันที่ 28 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
สาธิตแนะนำการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สาธิตแนะนำการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยดีสามารถดูแลตนเองได้
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2. เพื่อส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่องในชุมชนตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพ การเยี่ยมกันเองในกลุ่มผู้ป่วย และการดูแลซึ่งกันและกันระยะยาว
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต ให้ผู้สูงอายุได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
ตัวชี้วัด :
0.00
4
4.เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการส่งเสริมสุขภาพ และแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างครอบคลุม
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยดีสามารถดูแลตนเองได้ (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่องในชุมชนตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพ การเยี่ยมกันเองในกลุ่มผู้ป่วย และการดูแลซึ่งกันและกันระยะยาว (3) 3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต ให้ผู้สูงอายุได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน (4) 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการส่งเสริมสุขภาพ และแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างครอบคลุม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ (2) ให้ความรู้ทั่วไป เรื่องสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง (3) สาธิตแนะนำการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1462-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเนตรชนก หวังสม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ ”
ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางเนตรชนก หวังสม
ธันวาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1462-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 เมษายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองชีล้อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1462-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 เมษายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,360.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองชีล้อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขมีมากขึ้น ทำให้คนมีอายุยืนขึ้นขึ้น ดังนั้น ในปัจจุบันโครงสร้างของประชากรจึงเปลี่ยนไป ประชากรวัยเด็กมีสัดส่วนลดลง และมีแนวโน้มที่ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในอัตราที่เร็วมาก กลุ่มวัยสูงอายุก็มีจำนวนเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามสุขภาพของผู้สูงอายุต้องประสบกับภาวะทุพลภาพระยะยาวการเจ็บป่าวเรื้อรัง การเสื่อมสภาพของสมองและร่างกาย และประสบปัญหาถูกทอดทิ้ง ไม่มีผู้เลี้ยงดูเพิ่มขึ้น จาการศึกษาขนาดและแนวโน้มของประชากรสูงอายุ การเพิ่มขนาดและสัดส่วนประชากรสูงอายุไทยยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นประเด็นที่ทุกภาคส่วนจะต้องมีการเตรียมการด้านต่างๆ โดยเฉพาะการดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี สำหรับผู้สูงอายุตลอดจนการคุ้มครองดูแลให้ผู้สูงอายุ สามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต ผู้สูงอายุหรือคนชรา ตามคำจำความขององค์การอนามัยโลก หมายถึงคนที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปทั้งเพศหญิงและเพศชาย ปัจจุบันประเทศต่างๆ ทั่วโลกมีอัตราการเพิ่มจำนวนของผู้สูงอายุมากขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี เหตุที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และการพัฒนางานด้านสาธารณสุขทำให้สุขภาพอนามัยของประชาชนดีขึ้นและมีอายุยืนยาวทำให้ผู้สูงอายุในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ผู้สูงอายุถือได้ว่าเป็นทรัพยากรของชาติที่มีคุณค่า ทุกคนควรให้ความรักเคารพ และดูแลเอาใจใส่เนื่องจากเป็นผู้ที่สร้างประโยชน์แก่ประเทศชาติมาก่อนสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรมอันดีไปสู่ลูกหลาน แต่ปัจจุบันผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานมากขึ้นทำกิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องของความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น ฉะนั้นผู้สูงอายุควรต้องได้รับความรู้ในเรื่อง การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพปากและฟัน การป้องกันอุบัติเหตุเหล่านี้เป็นต้น เพื่อที่จะสามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตัวเองได้ ทำให้เกิดปัญหาได้น้อยที่สุดและส่งผลให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส ช่วยให้คนรอบข้างหรือครอบครัวทั้งสังคมมีความสุขด้วยและครอบครัวเป็นสถาบันที่เล็กที่สุดแต่มีความสำคัญที่สุด ถ้าครอบครัวให้ความสำคัญและเล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุด้วยแล้วครอบครัวและสังคมไทยจะมีความสุข และทุกคนมีสุขภาพจิตที่ดีส่งผลให้ร่างกายดีตามมาเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและส่งเสริมสถาบันครอบครัวดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองชีล้อมจึงได้ทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยดีสามารถดูแลตนเองได้
- 2. เพื่อส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่องในชุมชนตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพ การเยี่ยมกันเองในกลุ่มผู้ป่วย และการดูแลซึ่งกันและกันระยะยาว
- 3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต ให้ผู้สูงอายุได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
- 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการส่งเสริมสุขภาพ และแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างครอบคลุม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ
- ให้ความรู้ทั่วไป เรื่องสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง
- สาธิตแนะนำการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุทุกคนมีสุขภาพกาย สุขภาพใจ และสุขภาพจิตที่ดี ๒. ผู้สูงอายุได้พบประสังสรรค์ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์มีโลกทัศน์กว้างขึ้น มีความรู้ในการป้องกัน โรคที่ถูกต้อง 3. ได้รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องในชุมชนที่ครอบคลุมทุกกลุ่มประเภทของผู้สูงอายุ 4. มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานงานกับเครือข่ายและหน่วยงานราชการที่มีส่วน เกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพกาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ |
||
วันที่ 27 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพ และได้รับความรู้ในเรื่องของการดูแลสุขภาพผู้สูงอยุ
|
60 | 0 |
2. ให้ความรู้ทั่วไป เรื่องสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง |
||
วันที่ 27 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำให้ความรู้ทั่วไป เรื่องสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นให้ความรู้ทั่วไป เรื่องสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง
|
60 | 0 |
3. สาธิตแนะนำการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย |
||
วันที่ 28 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำสาธิตแนะนำการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสาธิตแนะนำการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยดีสามารถดูแลตนเองได้ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่องในชุมชนตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพ การเยี่ยมกันเองในกลุ่มผู้ป่วย และการดูแลซึ่งกันและกันระยะยาว ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต ให้ผู้สูงอายุได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการส่งเสริมสุขภาพ และแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างครอบคลุม ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | 60 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | 60 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยดีสามารถดูแลตนเองได้ (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่องในชุมชนตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพ การเยี่ยมกันเองในกลุ่มผู้ป่วย และการดูแลซึ่งกันและกันระยะยาว (3) 3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต ให้ผู้สูงอายุได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน (4) 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการส่งเสริมสุขภาพ และแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างครอบคลุม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ (2) ให้ความรู้ทั่วไป เรื่องสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง (3) สาธิตแนะนำการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1462-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเนตรชนก หวังสม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......