ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ”
ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายบุญเรือง ร่มทับทิม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2531-2-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2531-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขรายงานว่า สถานการณ์ผู้ป่วยเบาหวานในไทยเพิ่มจำนวนผู้ป่วยขึ้นเป็น ๓.๕ ล้านคนในปี ๒๕๕๖ ส่งผลให้มีมูลค่าการรักษาโรคเบาหวานสูงถึง ๔๗,๕๙๖ ล้านบาทต่อปี โดยที่ปัจจุบันพบว่า คนไทยอ้วน และมีน้ำหนักเกินมาตรฐานเป็นอันดับ ๕ ของเอเชีย-แปซิฟิก
การสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับสุขภาพ เป็นพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ที่ทุกคนควรมีการปฏิบัติและปลูกฝังจนเป็นสุขนิสัย เพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการเรียนรู้ การมีความสุขทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน จากสถิติการเจ็บป่วยของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯไอปาโจ ในปี ๒๕๖๐ พบว่าประชากรอายุมากกว่า ๓๕ ปี มีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น และมีอัตราผู้ป่วยเป็นอัมพาตจากหลอดเลือดสมองแตกเพิ่มขึ้น จากจำนวนประชากรอายุ ๓๕ ปี ทั้งหมด ๕๘๙ คน มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน ๗๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๘๘ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน๑๗๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๒๒ ซึ่งมีผู้ป่วยบางรายเกิดภาวะแทรกซ้อน เกิดความพิการทางกายและการเคลื่อไหวเป็นภาระให้แก่ครอบครัวและชุมชน
การเสริมสร้างสุขภาพที่ดีและสร้างโอกาสสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับประชาชนทุกกลุ่ม จะช่วยทำให้กลุ่มป่วยสามารถดูแลตนเองได้เป็นอย่างดี กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักและใช้ประสบการณ์ของผู้ป่วยคนอื่นในชุมชนเป็นตัวอย่างและปรับใช้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมไม่ก่อให้เกิดโรคก่อนวัยอันควร ทั้งนี้การสร้างโอกาสดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน การใช้แนวทางที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดในชุมชนด้วยตนเอง โดยรณรงค์ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง เช่น ลดอาหารหวาน มัน เค็ม รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หมั่นทำจิตใจให้สงบ ลด ละ เลิกบุหรี่และสุรา ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ไอปาโจ ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสุขภาวะของประชาชนโดยการส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันสร้างสุขภาพที่ดี มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อให้ประชากรในเขตรับผิดชอบตระหนักถึงภัยร้ายแรงจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยางและพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค สร้างบุคคลต้นแบบ ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก ๓อ ๒ส ๔ ครั้ง
- ประกวดบุคคลต้นแบบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๔.๑ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค อย่างถูกต้องและเหมาะสม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพทำให้อัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่โรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดลง
๔.๒ ชุมชนมีการส่งเสริมการสร้างสุขภาพแบบมีส่วนร่วม มีบุคลากรต้นแบบด้านสุขภาพ
๔.๓ มีเครือข่ายดูแลสุขภาพที่ยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก ๓อ ๒ส ๔ ครั้ง (2) ประกวดบุคคลต้นแบบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2531-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายบุญเรือง ร่มทับทิม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ”
ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายบุญเรือง ร่มทับทิม
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2531-2-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2531-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขรายงานว่า สถานการณ์ผู้ป่วยเบาหวานในไทยเพิ่มจำนวนผู้ป่วยขึ้นเป็น ๓.๕ ล้านคนในปี ๒๕๕๖ ส่งผลให้มีมูลค่าการรักษาโรคเบาหวานสูงถึง ๔๗,๕๙๖ ล้านบาทต่อปี โดยที่ปัจจุบันพบว่า คนไทยอ้วน และมีน้ำหนักเกินมาตรฐานเป็นอันดับ ๕ ของเอเชีย-แปซิฟิก การสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับสุขภาพ เป็นพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ที่ทุกคนควรมีการปฏิบัติและปลูกฝังจนเป็นสุขนิสัย เพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการเรียนรู้ การมีความสุขทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน จากสถิติการเจ็บป่วยของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯไอปาโจ ในปี ๒๕๖๐ พบว่าประชากรอายุมากกว่า ๓๕ ปี มีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น และมีอัตราผู้ป่วยเป็นอัมพาตจากหลอดเลือดสมองแตกเพิ่มขึ้น จากจำนวนประชากรอายุ ๓๕ ปี ทั้งหมด ๕๘๙ คน มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน ๗๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๘๘ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน๑๗๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๒๒ ซึ่งมีผู้ป่วยบางรายเกิดภาวะแทรกซ้อน เกิดความพิการทางกายและการเคลื่อไหวเป็นภาระให้แก่ครอบครัวและชุมชน การเสริมสร้างสุขภาพที่ดีและสร้างโอกาสสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับประชาชนทุกกลุ่ม จะช่วยทำให้กลุ่มป่วยสามารถดูแลตนเองได้เป็นอย่างดี กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักและใช้ประสบการณ์ของผู้ป่วยคนอื่นในชุมชนเป็นตัวอย่างและปรับใช้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมไม่ก่อให้เกิดโรคก่อนวัยอันควร ทั้งนี้การสร้างโอกาสดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน การใช้แนวทางที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดในชุมชนด้วยตนเอง โดยรณรงค์ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง เช่น ลดอาหารหวาน มัน เค็ม รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หมั่นทำจิตใจให้สงบ ลด ละ เลิกบุหรี่และสุรา ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ไอปาโจ ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสุขภาวะของประชาชนโดยการส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันสร้างสุขภาพที่ดี มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อให้ประชากรในเขตรับผิดชอบตระหนักถึงภัยร้ายแรงจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยางและพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค สร้างบุคคลต้นแบบ ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก ๓อ ๒ส ๔ ครั้ง
- ประกวดบุคคลต้นแบบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๔.๑ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค อย่างถูกต้องและเหมาะสม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพทำให้อัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่โรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดลง ๔.๒ ชุมชนมีการส่งเสริมการสร้างสุขภาพแบบมีส่วนร่วม มีบุคลากรต้นแบบด้านสุขภาพ ๔.๓ มีเครือข่ายดูแลสุขภาพที่ยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก ๓อ ๒ส ๔ ครั้ง (2) ประกวดบุคคลต้นแบบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2531-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายบุญเรือง ร่มทับทิม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......