กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง


“ พัฒนาสถานประกอบการผ่านมาตรฐานกรมอนามัย ผู้บริโภคปลอดภัย ปี 2561 ”

ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกรรณิการ์ร่มทับทิม

ชื่อโครงการ พัฒนาสถานประกอบการผ่านมาตรฐานกรมอนามัย ผู้บริโภคปลอดภัย ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2531-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาสถานประกอบการผ่านมาตรฐานกรมอนามัย ผู้บริโภคปลอดภัย ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาสถานประกอบการผ่านมาตรฐานกรมอนามัย ผู้บริโภคปลอดภัย ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาสถานประกอบการผ่านมาตรฐานกรมอนามัย ผู้บริโภคปลอดภัย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2531-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,725.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเทคโนโลยีมีความทันสมัย ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยได้ง่าย ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยมักอวดอ้างสรรพคุณเกินจริง พบการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ยา เครื่องสำอาง ขายผ่านทางโซเชียลมีเดีย (Social media) เป็นจำนวนมาก ซึ่งมีการโฆษณาที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง หลอกขายให้ผู้บริโภคสั่งซื้อมาใช้ อาทิ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อวดอ้างสรรพคุณทางยาว่า ช่วยบำบัด บรรเทา รักษาหรือป้องกันโรคต่างๆ หรืออ้างว่าสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของร่างกาย เช่น ทำให้หน้าเล็ก เรียว แหลม เพิ่มส่วนสูง ขยายหน้าอก ลดริ้วรอย ลดฝ้า กระ จุดด่างดำ ผลิตภัณฑ์ที่ทําให้ผิวขาว เนียนอมชมพู มีออร่าช่วยปรับสภาพผิวเนียนนุ่มใสวิ้ง บางครั้งพบว่าอวดอ้างเป็นยาเสริมสมรรถภาพทางเพศยาเพิ่มหรือขยายขนาดอวัยวะ เพศ บางครั้งพบว่าเป็นเพียงผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางแต่กลับอ้างว่าสามารถรักษาสิว ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่อวดอ้างต่าง ๆ เหล่านี้มักจะเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่ผ่านการขออนุญาตจาก อย. อีกทั้งยังมีการอวดอ้างสรรพคุณเกินจริง บางผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเป็นเพียงการจดแจ้งกับ อย. แต่มักจะนำไปโฆษณาว่าผ่าน อย. แล้ว ทำให้ผู้บริโภคเข้าใจผิดว่า อย. รับรองสรรพคุณผลิตภัณฑ์ที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง เพราะมักพบว่าผลิตภัณฑ์ที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริงนั้นมักลักลอบใส่ยาหรือสารอันตรายลงไปในผลิตภัณฑ์ และไม่ได้รับคุณภาพมาตรฐาน อาจได้รับอันตรายจากการใช้ ผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ อาหารยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บโดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้วสิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือ คุณค่าตามหลักโภชนาการคุณภาพความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน
จากการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในปี ๒๕๖๐ พบว่าตำบลภูเขาทองร้านค้าทุกร้านในตำบลภูเขาทองไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน อาหารที่นำมาจำหน่ายบางชนิดพบสารต้องห้ามปนเปื้อนมาในอาหาร ร้านค้ามีการจำหน่ายยาที่มีสารเสตียรอยด์และจำหน่ายยาต้องห้าม เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาอันตรา เป็นต้น และประชาชนตำบลภูเขาทองใช้เครื่องสำอางที่มีสารต้องห้ามปนเปื้อน ฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร ยาและเครื่องสำอาง ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลและเข้าถึงบริการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ได้ นอกจากนี้ ยังพบว่าประชาชนที่มารับบริการที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ไอปาโจ ที่สำคัญอันดับต้นๆ คือโรคอุจจาระร่วง ซึ่งมีสาเหตุมาจากความไม่สะอาดและปลอดภัยของอาหารและน้ำที่บริโภค ซึ่งสามารถป้องกันได้โดยการพัฒนาสถานประกอบการต่างๆให้ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน ดังนั้นสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ไอปาโจ ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาสถานประกอบการผ่านมาตรฐานกรมอนามัย ผู้บริโภคปลอดภัย ปี ๒๕๖๑ ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร พัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสมอันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไข้เจ็บที่มีสาเหตุอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหาร เครื่องสำอาง และยาที่ไม่ปลอดภัย
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ
  3. สร้างภาคีเครือข่ายเฝ้าระวัง เตือนภัยจากผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถใช้หน้าต่างเตือนภัยสุขภาพได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชาชนในเขตพื้นที่เป้าหมายได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยปราศจากสารเคมีและสิ่งปนเปื้อน ๒. ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องอันจะส่งผลให้มีสุขภาพแข็งแรงและปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไข้เจ็บที่มีสาเหตุอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหาร เครื่องสำอาง และยาที่ไม่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโรคที่เกิดจากการบริโภคอาหาร เครื่องสำอางและยาไม่ปลอดภัยลดลง
80.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านค้าได้รับการอบรม ร้อยละ ๘๐ สถานประกอบการผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๖๐
80.00

 

3 สร้างภาคีเครือข่ายเฝ้าระวัง เตือนภัยจากผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถใช้หน้าต่างเตือนภัยสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : มีทีมเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ร้อยละ ๘๐
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไข้เจ็บที่มีสาเหตุอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหาร เครื่องสำอาง และยาที่ไม่ปลอดภัย (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ (3) สร้างภาคีเครือข่ายเฝ้าระวัง เตือนภัยจากผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถใช้หน้าต่างเตือนภัยสุขภาพได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาสถานประกอบการผ่านมาตรฐานกรมอนามัย ผู้บริโภคปลอดภัย ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2531-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกรรณิการ์ร่มทับทิม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด