กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ สุขภาพดีด้วยภูมิปัญญาตามศาสตร์พระราชา ”
ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวกรรณิการ์ร่มทับทิม




ชื่อโครงการ สุขภาพดีด้วยภูมิปัญญาตามศาสตร์พระราชา

ที่อยู่ ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2531-1-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"สุขภาพดีด้วยภูมิปัญญาตามศาสตร์พระราชา จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สุขภาพดีด้วยภูมิปัญญาตามศาสตร์พระราชา



บทคัดย่อ

โครงการ " สุขภาพดีด้วยภูมิปัญญาตามศาสตร์พระราชา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลภูเขาทอง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2531-1-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,150.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในยุคปัจจุบัน ระบบเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง มีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางการแพทย์เป็นไปอย่างรวดเร็วมาก มีการกระจายโครงสร้างพื้นฐานของระบบบริการสาธารณสุขทั้งในภาครัฐและเอกชน ได้แก่โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชมโรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล โรงพยาบาลเอกชนและคลินิกเอกชนมีการกระจายและมีความครอบคลุมมากขึ้น แต่พบว่าพฤติกรรมอนามัยของประชาชนที่ไม่เหมาะสมยังปรากฏอยู่ เช่น พฤติกรรมการกินอาหาร ขาดการออกกำลังกาย พฤติกรรมการเสพสารเสพติดหรือพฤติกรรมที่เป็นผลจากความเครียด สาเหตุเนื่องมาจากความคิด ความเชื่อ ค่านิยม แบบแผนการดำเนินชีวิตและปัจจัยสิ่งแวดล้อมต่างๆ รวมทั้งผลจากวัฒนธรรมข้ามชาติ นอกจากนั้นแนวโน้มปัญหาการเจ็บป่วยของประชาชนในอนาคตจะมีลักษณะของโรคไม่ติดต่อทั้งกายและจิตใจ โรคที่เกิดจากพันธุกรรม สิ่งแวดล้อมและมลภาวะ ซึ่งการลงทุนด้านการรักษาพยาบาลจะให้ผลตอบแทนน้อยกว่าการสร้างเสริมสุขภาพ
จากผลการดำเนินงานในปี ๒๕๖๐ ของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินีไอปาโจ พบว่า ปัญหาสุขภาพที่สำคัญในพื้นที่ ได้แก่ โรคเรื้อรัง(เบาหวาน,ความดัน) โรคติดต่อโดยแมลง(ไข้เลือดออก/มาลาเรีย) โรคระบบทางเดินอาหาร โรคระบบกล้ามเนื้อ และปัญหาด้านสุขภาพจิต ซึ่งปัญหาสุขภาพเหล่านี้สามารถควบคุม ป้องกันโรค หรือฟื้นฟูสุขภาพได้ด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ตามศาสตร์พระราชา โดยใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน ดังนั้น สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินีไอปาโจ จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดีด้วยภูมิปัญญาตามศาสตร์พระราชา เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องโดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน การผลักดันให้ชุมชนดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายอื่น ๆ ในชุมชน ด้านการบริหารจัดการ การระดมทรัพยากร การประสานงานในเครือข่ายพื้นที่ ผ่านกระบวนการร่วมคิดร่วมทำอย่างเป็นระบบ เหมาะสมกับสภาพปัญหาและวิถีชีวิตชุมชนมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ เกิดความตระหนัก สามารถดูแลสุขภาพและจัดการตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้อย่างเหมาะสมกับสภาพปัญหา วิถีชีวิต และบริบทของชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ในโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในพื้นที่รับผิดชอบ โดยบูรณาการด้านการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมโรค
  2. เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เรื่องการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนให้ครอบคลุมทุกวัย
  3. .เพื่อสร้างตำบลจัดการสุขภาพดี วิถีชีวิตไทย อย่างยั่งยืนโดยชุมชน ตามทิศทางยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี “ปฏิรูประบบ สร้างความเข้มแข็ง สู่ความยั่งยืน”
  4. สร้างรายได้ ให้กับประชาชนในพื้นและสนับสนุนภูมิปัญญาเพื่อตอบสนองนโยบายเมืองการท่องเที่ยว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมแกนนำหมู่บ้านและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อหารือกิจกรรมและความต้องการของแต่ละหมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 174
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๔.๑ อัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่โรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดลง ๔.๒ ชุมชมมีการส่งเสริมการสร้างสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
๔.๓ มีเครือข่ายดูแลสุขภาพที่ยั่งยืน ๔.๔ ประชาชนมีรายได้ เพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ในโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในพื้นที่รับผิดชอบ โดยบูรณาการด้านการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : ๑.อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ไม่เกินร้อยละไม่เกิน ๒.๔๐ ๒.อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน≥ร้อยละ ๑๐
0.00

 

2 เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เรื่องการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนให้ครอบคลุมทุกวัย
ตัวชี้วัด : มีสถานีส่งเสริมสุขภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ประจำแต่ละหมู่บ้านอย่างน้อย ๑ เรื่อง
1.00

 

3 .เพื่อสร้างตำบลจัดการสุขภาพดี วิถีชีวิตไทย อย่างยั่งยืนโดยชุมชน ตามทิศทางยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี “ปฏิรูประบบ สร้างความเข้มแข็ง สู่ความยั่งยืน”
ตัวชี้วัด : เป็นหมู่บ้านและตำบลนำร่อง เรื่องการจัดการสุขภาพที่ดี วิถีไทยอย่างยั่งยืนโดยชุมชน
0.00

 

4 สร้างรายได้ ให้กับประชาชนในพื้นและสนับสนุนภูมิปัญญาเพื่อตอบสนองนโยบายเมืองการท่องเที่ยว
ตัวชี้วัด : ประชาชน มีรายได้เสริมจากการจัดกิจกรรม ต่อยอดผลิตภัณฑ์ได้อย่างยั่งยืน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 234
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 174
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ในโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในพื้นที่รับผิดชอบ โดยบูรณาการด้านการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ  และป้องกันควบคุมโรค (2) เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  เรื่องการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนให้ครอบคลุมทุกวัย (3) .เพื่อสร้างตำบลจัดการสุขภาพดี  วิถีชีวิตไทย  อย่างยั่งยืนโดยชุมชน ตามทิศทางยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี “ปฏิรูประบบ สร้างความเข้มแข็ง สู่ความยั่งยืน” (4) สร้างรายได้ ให้กับประชาชนในพื้นและสนับสนุนภูมิปัญญาเพื่อตอบสนองนโยบายเมืองการท่องเที่ยว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมแกนนำหมู่บ้านและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อหารือกิจกรรมและความต้องการของแต่ละหมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สุขภาพดีด้วยภูมิปัญญาตามศาสตร์พระราชา จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2531-1-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกรรณิการ์ร่มทับทิม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด