กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการการจัดการขยะต้นทาง ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมุสตอปา ดือเร๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะต้นทาง

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2492-2-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มิถุนายน 2561 ถึง 25 มิถุนายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะต้นทาง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะต้นทาง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการขยะต้นทาง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2492-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 มิถุนายน 2561 - 25 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีการเพิ่มขึ้นของอัตราประชากร การขยายตัวด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาอุตสาหกรรมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้ในประเทศไทย ประสบปัญหาเรื่องมลภาวะโดยเฉพาะเรื่องของขยะมูลฝอยซึ่งเพิ่มจำนวนขึ้นมากขึ้นทุกปี อีกทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยกลับไม่ได้กำจัดแบบถูกสุขลักษณะ เช่น การกองไว้กลางแจ้ง การเผา การฝังที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล ซึ่งปัญหาเหล่านี้ต้องเร่งแก้ไขโดยด่วน อีกทั้งความตระหนักและจิตสำนึกในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนยังมีน้อยมาก ไม่เห็นความสำคัญของปัญหา คิดว่าเป็นหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพียงฝ่ายเดียวในการจัดการขยะทั้งหมด การขาดความร่วมมือจากประชาชนหรือหน่วยงานต่างๆ จนทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องตามแก้ไขอยู่ตลอดเวลาและไม่จบสิ้น ปริมาณขยะมูลฝอยในบริเวณโรงเรียน เกิดจากพฤติกรรมการใช้วัสดุสิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันที่มีการเลือกใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มีการคำนึงถึงผลกระทบอันอาจเกิดการใช้วัสดุเครื่องใช้สอยในครัวเรือนที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อสิ่งแวดล้อม จากการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน พบว่ามีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกปี ขยะมูลฝอยที่รถเก็บขนขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียนไปเททิ้งที่บ่อขยะเพื่อกำจัดนั้น ได้แก่ ขยะที่เป็นถุงพลาสติกย่อยสลายยาก ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตรายและขยะทั่วไป โดยการเททิ้งรวมกันที่บ่อขยะ จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก การส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน มีการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางในระดับครัวเรือน การให้สุขศึกษา จะทำให้ประชาชนตระหนักและเข้าใจสภาพปัญหาหรือผลกระทบที่เกิดขึ้น มีความสนใจและใส่ใจในการปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอในรูปแบบที่แตกต่างกัน จะสามารถลดปริมาณขยะที่จะนำไปกำจัดลงได้
ในการนี้ โรงเรียนพัฒนศาสน์วิทยา จึงได้จัดให้มีโครงการการจัดการขยะต้นทาง เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและปรับปรุงระบบการจัดการขยะมูลฝอยในบริเวณโรงเรียนและพื้นที่ใกล้เคียงให้มีประสิทธิภาพ ทั้งยังส่งเสริมให้ชุมชนมีความเข้มแข็งมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด และสาธิตการแยกขยะที่ต้นทาง
  2. สาธิตการนำขยะอินทรีย์มาหมักทำปุ๋ยชีวภาะพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 54
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีจิตสำนึก มีความตระหนักในการคัดแยกขยะและการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 2 นักเรียนใช้บรรจุภัณฑ์ และซื้อสินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม 3 นักเรียนสามารถทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ และนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
งบประมาณในการจัดการขยะมูลฝอยลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด และสาธิตการแยกขยะที่ต้นทาง

วันที่ 23 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าวิทยากร 1 คนๆ ละ 4 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 54 คน เป็นเงิน 2,700 บาท
  • ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 54 คน เป็นเงิน 2,700 บาท
  • เข่งแยกสี (4 สี) ขนาด 51x36 ซม. (no.3) จำนวน 20 ใบๆ ละ 139 บาท เป็นเงิน 2,780 บาท
  • ไม้กวาดทางมะพร้าว ด้ามยาว จำนวน 2 ด้ามๆ ละ 85 บาท เป็นเงิน 170 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แกนนำนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50
  • แกนนำนักเรียนมีจิตสำนึกให้มีความตระหนักในการคัดแยกชยะ ร้อยละ 50

 

54 0

2. สาธิตการนำขยะอินทรีย์มาหมักทำปุ๋ยชีวภาะพ

วันที่ 24 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าวิทยากร 1 คนๆ ละ 4 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 54 คน เป็นเงิน 2,700 บาท
  • ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 54 คน เป็นเงิน 2,700 บาท
  • ค่าหัวเชื้ออีดอ็ม จำนวน 10 ลิตรๆ ละ 90 บาท เป็นเงิน 900 บาท
  • ค่ากากน้ำตาล จำนวน 11 ลิตรๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 550 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แกนนำนักเรียนสามารถทำปุ๋ยหมักจากอินทรีย์และนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 50

 

54 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
335.00 500.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 54
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 54
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด และสาธิตการแยกขยะที่ต้นทาง (2) สาธิตการนำขยะอินทรีย์มาหมักทำปุ๋ยชีวภาะพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดการขยะต้นทาง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2492-2-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมุสตอปา ดือเร๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด