กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม


“ เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขภาพที่ก้าวหน้า ”

ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาตีเมาะ กาลม

ชื่อโครงการ เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขภาพที่ก้าวหน้า

ที่อยู่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3027-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขภาพที่ก้าวหน้า จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขภาพที่ก้าวหน้า



บทคัดย่อ

โครงการ " เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขภาพที่ก้าวหน้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3027-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเข้าสู่ "สังคมสูงอายุ" มาแล้ว ตั้งแต่ปี 2548 โดยเกณฑ์ ที่สหประชาชาติกำหนด คือมีสัดส่วนของผู้มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินกว่าร้อยละ 10 หรือมีผู้มีอายุ 65 ปีขึ้นไปเกินกว่าร้อยละ 7 ถึงปี 2561สัดส่วนผู้สูงอายุในประเทศไทยเกินกว่าร้อยละ 17 แล้ว กล่าวคือมีผู้สูงอายุมากกว่า 10 ล้านคน จากประชากรของประเทศ ราว 65 ล้านคนผู้สูงอายุกว่า 10 ล้านคนนี้มีส่วนหนึ่งที่ต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง (Depen dent) จากความเสื่อมสภาพของร่างกายและจากโรคภัยไข้เจ็บที่ทำให้เกิดความพิการ เช่น จากโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ทำให้เกิดภาวะอัมพฤกษ์หรืออัมพาต หรือจากอุบัติเหตุต่างๆ จากการสำรวจเป็นระยะๆ พบผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงราวร้อยละ 10 หรือราว 1 ล้านคน โดยในจำนวนนี้เป็นผู้ที่ต้องพึ่งพิงบางส่วน หรือเป็นประเภท"ติดบ้าน" ออกไปไหนไม่ได้ราวร้อยละ 85 หรือราว 8.5 แสนคน และต้องพึ่งพิงทั้งหมด หรือเป็นประเภท "ติดเตียง" ราวร้อยละ 15 หรือราว 1.5 แสนคน จำนวนผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงมีแนวโน้มสูงขึ้น ทั้งจากสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และจากสัดส่วนผู้สูงอายุ "วัยปลาย" ที่มากขึ้น เพราะอายุขัยเฉลี่ยของคนไทยสูงขึ้นเป็นลำดับ ประเทศไทยกำหนดนิยามผู้สูงอายุไว้ในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ว่าหมายถึงผู้ที่มีอายุเกินกว่า 60 ปีขึ้นไป (ขณะที่ประเทศเจริญแล้วส่วนมากกำหนดที่อายุเกินกว่า 65 ปีขึ้นไปหรือมากกว่านั้น) ทั้งนี้มีการแบ่งผู้สูงอายุออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ วัยต้นอายุ 60-69 ปี วัยกลางอายุ 70-79 ปี และวัยปลายอายุ 80 ปีขึ้นไป ผู้สูงอายุวัยปลายย่อมมีโอกาส "ติดบ้านติดเตียง" สูงกว่าวัยต้นและวัยกลาง เมื่อประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจึงควรมีการเตรียมการเพื่อรองรับโดยเมื่อมีคนแก่หรือคนชรามากขึ้นสัดส่วนคนทำงานลดลงผลผลิตโดยรวมก็จะลดลงส่งผลให้รายได้ของประเทศลดลง เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจของประเทศได้ผู้สูงอายุต้องเกษียณจากการงานไม่มีรายได้ต้องอาศัยรายได้จากเงินที่เก็บออมไว้ถ้าหากไม่มีเงินออมไว้มากพอก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาในการดำรงชีพเป็นภาระแก่สังคมที่ต้องช่วยเหลือเกื้อกูลจัดสวัสดิการต่างๆให้เหมาะสมและเพียงพอเมื่อถึงวัยสูงอายุสภาพร่างกายและจิตใจมีการเปลี่ยนแปลงต้องมีการปรับตัวและที่สำคัญเมื่ออายุมากขึ้น สภาพร่างกายเริ่มเสื่อมถอยลงปัญหาด้านสุขภาพก็จะตามมาซึ่งทั้งหมดเป็นปัญหาที่ทุกภาคส่วนสมควรมีการเตรียมการเพื่อรองรับจำนวนผู้สูงอายุที่จะมีเพิ่มขึ้นและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น การดูแลติดตาม เยี่ยมบ้าน จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่สำคัญที่จะช่วยลดปัญหาสุขภาพและลดภาระค่าใช้จ่ายต่างๆที่อาจเกิดขึ้นจากความเจ็บป่วยอย่างยั่งยืน ทั้งต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านจาเราะบองอ จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลติดตาม เยี่ยมบ้าน เพื่อลดปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นของผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสในชุมชน จึงได้มีการจัดทำโครงการเยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขภาพที่ก้าวหน้า ขึ้น เพื่อให้เกิดการดูแลปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสในพื้นที่แบบองค์รวม อย่างยั่งยืน จะส่งผลทำให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสในพื้นที่ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี ไม่เป็นภาระของครอบครัวและสังคม ใช้ชีวิตอย่างปกติสุขและยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแล ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแลและลดการพึ่งพิงของผู้ดูแลได้
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องโดยทีมสุขภาพ
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ทั้งด้านสิทธิประโยชน์ต่างๆ และความช่วยเหลือ ที่ควรจะได้รับจากทุกภาคส่วน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส รวมถึงผู้ดูแล เห็นความสำคัญของการดูแล ส่งเสริม สุขภาพ และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้
    2. ผู้ดูแล ได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
    3. ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องจากทีมสุขภาพ
    4. ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสอย่างเท่าเทียมกัน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ดูแล ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแลและลดการพึ่งพิงของผู้ดูแลได้
    ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติกับผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสได้ ร้อยละ 80
    50.00

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องโดยทีมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 90
    50.00

     

    3 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ทั้งด้านสิทธิประโยชน์ต่างๆ และความช่วยเหลือ ที่ควรจะได้รับจากทุกภาคส่วน
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสได้รับการดูแลช่วยเหลือตามสิทธิประโยชน์ที่ควรได้รับ ร้อยละ 90
    50.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแล ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแลและลดการพึ่งพิงของผู้ดูแลได้ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องโดยทีมสุขภาพ (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ทั้งด้านสิทธิประโยชน์ต่างๆ และความช่วยเหลือ ที่ควรจะได้รับจากทุกภาคส่วน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขภาพที่ก้าวหน้า จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L3027-01-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฟาตีเมาะ กาลม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด